คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมภาษาโลโก (logo)
Advertisements

การสร้างเว็บด้วยภาษา HTML
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
เรียนรู้และเข้าใจ HTML อย่างง่าย
ปฏิบัติการที่ 4 การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
Chapter 2 : Character and Fonts
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
เว็บไซต์ สาขา สารสนเทศศาสตร์
การเขียนผังงาน.
Script Programming& Internet Programming
ตัวอย่างโปรแกรม สร้างแถบเครื่องมืออย่างง่าย ประกอบด้วย
หลักการออกแบบเว็บ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำแนกกลุ่มเนื้อหา
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
องค์ประกอบของโปรแกรม
PHP LANGUAGE.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
ลักษณะพิเศษของ ภายใต้คำสั่ง <BODY>
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ภาษา HTML เบื้องต้น เช่น Internet Explorer และ Netscape Navigator
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
การจัดวางตำแหน่งข้อมูลไว้กึ่งกลาง
การกำหนดสีของตัวอักษร การกำหนดสีของตัวอักษรเฉพาะส่วน
แก้ไขปรับปรุง Form.
– Web Programming and Web Database
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างเว็บด้วย HTML HyperText Markup Language
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพิมพ์รายงาน / วิทยานิพนธ์
การสร้างเว็บเพจ HTML.
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
การพิมพ์การค้นคว้าอิสระ และวิทยานิพนธ์
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การกำหนดลักษณะตัวอักษร
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
HTML, PHP.
คำสั่งภาษา HTML เบื้องต้น
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร. โครงสร้างภาษา HTML หัวข้อเรื่อง เว็บไซต์
รู้จักกับโลกของ โฮมเพจ & เว็บไซต์.
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
1. การเขียนโปรแกรมภาษา PHP เบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
การเขียนผังงาน (Flowchart)
บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
หลักการจัดทำ File Presentation
หน่วยที่ 12 Style Sheet and Layers
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
หลักการเขียนเว็บไซต์
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
เสริมเว็บให้ดูสวย.
HTML (Hyper Text Markup Language) HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษา มาตรฐานสากลที่ใช้นำเสนอข้อมูลแบบ ผสมผสานในการสื่อสารแบบ World-Wide- Web.
และการทำงานกับตัวอักษร
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
HTML ก็คือภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษา หนึ่งซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการแสดงผล ข้อมูลบนระบบอินเตอร์เน็ท โดยใช้ เครื่องหมาย เป็นตัวกำหนดหลัก โดย ส่วนมากจะใช้คำสั่ง.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
เริ่มใช้งาน Microsoft Office
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
16. การเขียนรายงานการวิจัย
โครงสร้างของภาษา HTML
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML> คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ <HTML>.....</HTML> คำสั่ง <HTML> เป็นคำสั่งเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรม และ </HTML> เป็นคำสั่งจุดสิ้นสุดโปรแกรมเหมือนคำสั่ง Beign และ End ในภาษา Pascal

ส่วนหัว รูปแบบ <HEAD>.....</HEAD> ใช้กำหนดข้อความ ในส่วนที่เป็น ชื่อเรื่อง ภายในคำสั่งนี้ จะมีคำสั่งย่อย อีกหนึ่งคำสั่ง คือ <TITLE>

กำหนดข้อความในไตเติลบาร์ รูปแบบ <TITLE>.....</TITLE> ตัวอย่าง <TITLE> บทเรียน HTML </TITLE> เป็นส่วนแสดงชื่อของเอกสาร จะปรากฎ ขณะที่ไฟล์ HTML ทำงานอยู่ ข้อความ ที่กำหนด ในส่วนนี้ จะไม่ถูกนำไปแสดง ผลของ เว็บเบราเซอร์แต่จะปรากฎในส่วนของไตเติบาร์ (Title bar) ที่เป็นชื่อของวินโดว์ข้างบนไม่ควรให้ยา เกินไป เพียงให้รู้ว่าเว็บเพจที่กำลัง ใช้งานอยู่เกี่ยวข้องกับอะไร

ส่วนของเนื้อหา รูปแบบ <BODY>.....</BODY> ส่วนเนื้อหาของโปรแกรมจะเริ่มต้นด้วย คำสั่ง <BODY> และจบลงด้วย </BODY> ภายในคำสั่งนี้ คือ ส่วนที่จะแสดงทางจอภาพ

การกำหนด รูปแบบของตัวอักษร

การกำหนดหัวเรื่อง รูปแบบ <Hx>ข้อความ</Hx> ตัวอย่าง <H1>หัวข้อใหญ่สุด</H1> ในการกำหนดขนาดให้หัวเรื่องนั้นมีการกำหนด ไว้ 6 ระดับตั้งแต่ 1 - 6 โดย x แทนตัวเลขแต่ละลำดับโดย H1 มีขนาดใหญ่ที่สุด H6 เล็กที่สุดเมื่อต้องการใช้หัวเรื่องที่มีขนาดตัวอักษรเท่าใดเขียนอยู่ระหว่าง <Hx>....</Hx>

การกำหนดขนาดตัวอักษร รูปแบบ <FONT SIZE=x>ข้อความ</FONT> ตัวอย่าง <FONT SIZE=2>bcoms.net</FONT> เราสามารถกำหนดขนาดของตัวอักษรให้แตกต่างกันได้ ภายในบรรทัดเดียวกัน โดยเราใช้ <FONT SIZE=value> มากำหนด โดยที่ value เป็นตัวเลขแสดงขนาด ตัวอักษร 7 ขนาด ตัวเลขยิ่งมาก ยิ่งมีขนาดใหญ่ ตั้งแต่ -7 ไปจนถึง +7

อักษรตัวหนา (Bold) รูปแบบ <B>ข้อความ</B> ตัวอย่าง <B>bcoms.net</B> จะทำให้ข้อความที่อยู่ใน <B>....</B> มีความหนาเกิดขึ้น เช่น bcoms.net

อักษรตัวเอน (Itatic) รูปแบบ <I>ข้อความ</I> ตัวอย่าง <I>bcoms.net</I> ทำให้ข้อความที่อยู่ใน <I>....</I> เกิดเป็นตัวเอนขึ้น เช่น bcoms.net

ตัวขีดเส้นใต้ (Underline) รูปแบบ <U>ข้อความ</U> ตัวอย่าง <U>bcoms.net</U> ทำให้ข้อความที่อยู่ใน <U>.....<U> มีเส้นขีดอยู่ใต้ตัวอักษรเกิดขึ้น เช่น bcoms.net

ตัวอักษรมีขนาดคงที่ (Typewriter text) รูปแบบ <TT>ข้อมความ</TT> ตัวอย่าง <TT>bcoms.net</TT> ทำให้ข้อความ ที่อยู่ใน <TT>.....</TT> มีลักษณะเป็น fixed space เกิดขึ้น เช่น bcoms.net

แบบตัวอักษร (FONT) รูปแบบ <FONT FACE="font name>ข้อความ </FONT> ตัวอย่าง <FONT FACE="AngsanaUPC">bcoms.net </FONT> Font name เป็นชื่อของ Font ที่เราต้องการให้เป็น เช่น <FONT FACE="AngsanaUPC"> bcoms.net</FONT>

การกำหนดขนาด Font ทั้งเอกสาร รูปแบบ <Basefont size="X"> ตัวอย่าง <Basefont size=3> เป็นการกำหนดขนาดของตัวอักษรในโฮมเพจให้มีขนาด เท่ากันทั้งเอกสาร เพื่อสะดวกเราจะได้ไม่ต้องกำหนดบ่อย ๆ ปกติแล้วจะกำหนดขนาดเป็น 3 โดยไม่ต้องมีตัวปิดเหมือนคำสั่งอื่น ๆ (X แทนตัวเลข)

การกำหนดข้อความเลื่อน รูปแบบ <MARQUEE ATTIBUTE> ข้อความที่ต้องการเลื่อน</MARQUEE> ATTIBUTE : - SCROLLDELAY=“เวลา” คือ การกำหนดความเร็วของการเคลื่อนที่ - DIRECTION=“ทิศทาง” คือ การกำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ *** UP , DOWN , LEFT , RIGHT ***

การกำหนดข้อความเลื่อน (ต่อ) ตัวอย่าง <MARQUEE DIRECTION=“LEFT” > การสร้างเว็บเพจ</MARQUEE> ผลลัพธ์ คือ คำว่า การสร้างเว็บเพจ จะเลื่อนจากขวามาซ้ายของหน้าเว็บเพจ

การกำหนดกึ่งกลางหน้าเว็บเพจ รูปแบบ <CENTER>ข้อความ</CENTER> ตัวอย่าง <CENTER>คอมพิวเตอร์เบื้องต้น </CENTER> คำว่า คอมพิวเตอร์เบื้องต้น จะอยู่ตรงกึ่งกลางหน้าเว็บพอดี

การกำหนดสี

การกำหนดสีตัวอักษร รูปแบบ <FONT COLOR=“สี”>ข้อความ </FONT> ตัวอย่าง <FONT COLOR=“BLUE”> คอมพิวเตอร์</FONT> ผลลัพธ์ คือ คำว่า “ คอมพิวเตอร์ ” จะแสดงเป็นสีน้ำเงิน

การกำหนดสีพื้นหลังให้หน้าเว็บเพจ รูปแบบ <BODY BGCOLOR=“สี”> ตัวอย่าง <BODY BGCOLOR=“YELLOW”> ผลลัพธ์ คือ พื้นหน้าเว็บจะกลายเป็นสีเหลือง

การแทรกภาพ บนเว็บเพจ

การแทรกรูปภาพให้หน้าเว็บเพจ รูปแบบ <IMG SRC=“ชื่อรูปภาพ”></IMG> ตัวอย่าง <IMG SRC=“PIC01.JPG”></IMG> ผลลัพธ์ คือ พื้นหน้าเว็บจะกลายเป็นสีเหลือง

การขีดเส้นคั่น รูปแบบ <HR WIDTH=“ความยาวของเส้น”> <HR SIZE=“ขนาดของเส้น”> <HR COLOR=“สีของเส้น”> ตัวอย่าง <HR WIDTH=“250”SIZE=“10” COLOR=“RED”>