ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
ซอฟต์แวร์.
ผู้สอน ครูวาสนา พลทองมาก โรงเรียนบ้านบึงสามัคคีกำแพงเขต
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
05/06/54 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องความหมายและองค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล.
Software.
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
UNDERSTANDING NETWORK BASIC ทำความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานเครือข่าย
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
Intro : การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
ซอฟต์แวร์.
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
HTTP Client-Server.
Operating System ฉ NASA 4.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
CPU ไม่รวม I/O PROCESSOR , MATH CO-PROCESSOR
Operating System โครงสร้างคอมพิวเตอร์ และภาษาแอสเซมบลี้
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
Charter 11 1 Chapter 11 ระบบปฏิบัติการ Operation System : OS.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ซอฟต์แวร์.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
การทำงานของคอมพิวเตอร์
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
ซอฟต์แวร์.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4/2 โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
กระบวนการทำงานและบุคลากร
ระบบปฏิบัตการ Operating System.
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
Software ซอฟต์แวร์.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
Software จัดทำโดย นางสาวนรีกานต์ ซองเงิน ชั้น ม.4/13 เลขที่ 38 โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
บทที่ 5 ซอฟต์แวร์ระบบ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
SOFTWARE.
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Operating System
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชุดคำสั่ง(โปรแกรมคอมพิวเตอร์) ที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ต่างๆ ซอฟต์แวร์ (software) สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ซอฟต์แวร์ ระบบ (System) ซอฟต์แวร์ (software) ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ (Application)

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) โปรแกรม ทำหน้าที่ จัดการ ควบคุม ประสานงาน ระหว่างอุปกรณ์แต่ละชิ้น ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ซีพียู แรม แป้นพิมพ์ เม้าส์ เครื่องพิมพ์ เราเรียกซอฟต์แวร์ระบบว่า ระบบปฏิบัติการ หรือ Operating System บางทีก็เรียกสั้นๆว่า OS แบบบรรทัดคำสั่ง บางตัวไม่นิยมใช้แล้ว เช่น DOS Unix Linux รูปแบบการใช้งาน แบบกราฟิก กำลังเป็นที่นิยมมาก เช่น Windows Ubuntu LinuxTLE MAC-OS แบบฝัง พบในเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา เช่น โทรศัพท์มือถือ Tablet

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ประเภทของระบบปฏิบัติการ แบบเดี่ยว ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โน๊ตบุ๊ก รองรับผู้ใช้งานคนเดียว ส่วนมาก ผู้ใช้ทั่วไปจะใช้แบบนี้ มีหลายตัวเช่น วินโดวส์ 7 วินโดวส์ 8 อูบุนตู แมคอินทอช แบบเครือข่าย ใช้จัดการกับงานด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ช่วยให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถติดต่อกันได้ มีหลายตัวเช่น วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ ยูนิกส์ แบบฝัง ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาเช่น แทบเบล็ต โทรศัพท์มือถือ ใช้พื้นที่จัดเก็บน้อยกว่า แบบเดี่ยว และ แบบเครือข่าย