ทีม สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย โรงพยาบาลกาฬสินธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
Advertisements

ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
การลดปัจจัยเสี่ยงทางกายภาพและการยศาสตร์
สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
องค์ประกอบที่ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 120 คะแนน 3.1 การจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ.
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
G Garbage.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
การแต่งกายของนักเรียน
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
สรุปงานหอผู้ป่วย แผนผังอัคคีภัย
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
โรงพยาบาลหนองวัวซอ จ.อุดรธานี วันที่ 29 กรกฎาคม 2554
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การจัดการส้วมและ สิ่งปฏิกูลหลังภาวะน้ำลด
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
มาตรการประหยัดพลังงาน
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โครงการ สทส. “สุขที่สุด”.
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทีม สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ทีม สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย โรงพยาบาลกาฬสินธุ์

บริบท การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ มีคณะกรรมการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย ดูแลกำกับ ควบคุม และพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อความปลอดภัยและความผาสุกของผู้ป่วย ผู้มารับบริการ และเจ้าหน้าที่

ด้านความปลอดภัย 1.  โรงพยาบาลมีโครงสร้างทางกายภาพและสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย สะดวก เป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ และชุมชน โดยมีการตรวจสอบจากหน่วยงานภายนอก

เกณฑ์มาตรฐาน ผลลัพธ์ การดำเนินการ กฎหมาย ข้อบังคับ ใช้ข้อกำหนดของกฎหมาย และ พรบ.ควบคุมอาคารสถานที่ ตรวจสอบ/ ปรับปรุง อาคารสถานที่ มีการจัดทำแผนตรวจสอบปรับปรุงประจำปี จากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ ที่ 2 ขอนแก่น ร่วมสำรวจ ปีละ 1 ครั้ง และจัดทำแผนปรับปรุงซ่อมแซม ทุกปี ผลการตรวจสอบและ สิ่งที่ได้มีการแก้ไข ปรับปรุง ตามกฎหมาย ปรับปรุงห้องแยกโรค อาคารผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก ปรับปรุงห้องน้ำสำหรับผู้เคลื่อนไหวลำบาก ขยายหอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย ปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียเป็นขนาด 2,000 ลบ.ม./วัน - ปรับปรุงสถานที่เก็บขยะติดเชื้อ โดยจัดหาถังขยะรองรับขยะติดเชื้อ และปรังปรุงห้องให้มิดชิดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ

ระบบบริหารอาคารสถานที่ - กำหนดให้มีคณะกรรมการผู้รับผิดชอบด้านอาคารสถานที่ ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย จัดทำแผนบริหารจัดการอาคารสถานที่ เป็นแผนปฏิบัติการประจำปี - มีการดำเนินการประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม โดยแบ่ง คณะกรรมการ ENV 4 ทีม

2.  การดูแลรักษาความปลอดภัยชีวิตและทรัพย์สิน - มีมาตรการรักษาความปลอดภัย รปภ. 18 คน - มาตรการอื่น เช่น เพิ่มแสงสว่างทางเดิน , ถนน - ตรวจทางเข้า – ออก - การจัดพื้นที่จอด รถยนต์ รถจักรยานยนต์ เป็นสัดส่วน - การติดตั้งกล้องวงจรปิด ทางเข้า – ออก และภายใน อาคาร - จัดระบบการจราจรและขนส่งภายในโรงพยาบาลให้สะดวก ปลอดภัย    

บริเวณลานจอดรถ บริเวณ แผนกX-ray จัดระบบการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินให้มีความมั่นใจ น่าเชื่อถือ               บริเวณลานจอดรถ บริเวณ แผนกX-ray

ปัญหาและอุปสรรค - พื้นที่ไม่เพียงพอ - ยานพาหนะมีจำนวนมากขึ้น กำหนดเส้นทางเดินรถทางเดียว จัดโซนที่จอดรถ ยนต์ / จักรยานยนต์ ขอพื้นที่จอดรถจากศาลากลกางจังหวัด ขอรับสนับสนุนงบประมาณ ( รพ.ได้รับงบประมาณ 2557 ในการ ก่อสร้างอาคารสนับสนุนบริการ ขนาด 9 ชั้น

จัดระบบการป้องกันภาวะฉุกเฉินที่สำคัญ ของโรงพยาบาล จัดระบบการป้องกันภาวะฉุกเฉินที่สำคัญ ของโรงพยาบาล   - จัดซ้อมแผนเพื่อป้องและระงับอัคคีภัยร่วมกับหน่วยงานภายนอก - ในทุกหน่วยงานมีแผนอัคคีภัย - การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย - การเคลื่อนย้ายเครื่องมือที่สำคัญ - เจ้าหน้าที่ตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องดับเพลิง ทุกเดือน - ป้ายบอกตำแหน่ง ทางหนีไฟทุกอาคาร - มีบันไดทางหนีไฟนอกอาคารในกรณีอาคารสูง                 

- ถนน - ลาดจอด มีขนาดเล็ก ปัญหาและอุปสรรค - ถนน - ลาดจอด มีขนาดเล็ก - ระบบท่อน้ำดับเพลิงของเทศบาลอยู่ห่างกัน สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป - เชื่อมต่อระบบท่อน้ำกับเทศบาลในกรณีเกิดอัคคีภัย

วัสดุและของเสียอันตราย - องค์กรได้ระบุรายการวัสดุอันตราย และของเสียอันตราย ที่ใช้หรือเกิดขึ้น จากการวิเคราะห์ลักษณะ ปัญหาสิ่งแวดล้อม เพื่อกำหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขความเสี่ยงนั้น ๆ เช่นยาฉีดเคมีบำบัด ขยะติดเชื้อ ขยะเคมีอันตราย จัดให้ความรู้กับบุคลากรเกี่ยวกับการแยกขยะ การแยกขยะและการจัดเก็บ การจัดการขยะชนิดต่าง ๆ

ชนิดของขยะ วิธีการจัดเก็บ การกำจัด 1. ขยะทั่วไป ใส่ถุงขยะสีดำ เทศบาลนำไปกำจัด 2. ขยะติดเชื้อ ใส่ถุงขยะสีแดง บริษัทเอกชน 3. ขยะสารเคมีอันตราย (ขวดภาชนะ , หลอดไฟฟ้า ) ถุงขยะสีเทา 4. เข็มและขอมีคม กล่องพลาสติกสีแดง

การคัดแยกขยะที่หน่วยงาน การเคลื่อนย้าย กำหนดเส้นทางและเวลาที่ชัดเจน

3. การจัดเก็บ 4. การกำจัด โดยบริษัทเอกชนรับไปกำจัด

4. ตามรอยเส้นทางการขนย้ายขยะติดเชื้อและเยี่ยมตรวจแหล่งกำจัดขยะติดเชื้อให้เป็นไปตามมาตรฐานของกรมอนามัย (จาก รพ.กาฬสินธุ์ สระบุรี นิคมอุตสาหกรรมบางประอิน จ.อยุธยา)

ระบบบำบัดน้ำเสีย - โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ใช้ระบบบำบัดน้ำเสีย แบบ - โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ใช้ระบบบำบัดน้ำเสีย แบบ คลองวนเวียน ชนิดตะกอนเร่ง ร่วมกับบ่อปรับเสถียร - สามารถรองรับปริมาณน้ำเสียได้ไม่ต่ำกว่า 1,500 – 2,000 ลบ.ม./วัน

จัดการระบบบำบัดน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ  - การบำรุงรักษาและดูแลระบบ - การตรวจสอบคุณภาพน้ำประจำวัน และตามที่กฎหมายกำหนด - เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรม มีทักษะในงาน ที่เกี่ยวข้อง

ค่ามาตรฐาน BOD < 20 mg/l ตัวชี้วัดคุณภาพงานบำบัดน้ำเสีย การตรวจสอบคุณภาพน้ำ เดือน/ปี ค่ามาตรฐาน BOD < 20 mg/l

การจัดการเครื่องมือและสาธารณูปโภค การจัดการเครื่องมือและสาธารณูปโภค   จัดระบบการบริหารเครื่องมืออย่างมีประสิทธิภาพ - จัดระบบการให้บริการก๊าซทางการแพทย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและพอเพียง - บรรจุได้ ....... ลิตร - มีการตรวจสอบ / บำรุงรักษา ของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบทุกวัน และศูนย์วิศวกรรมการ แพทย์ ขอนแก่น

การจัดการระบบไฟฟ้าสำรองได้อย่า ประสิทธิภาพปลอดภัย ระบบไฟฟ้ามีหม้อแปลงจำนวน 6 เครื่อง เครื่องกำเนิดไฟฟ้า จำนวน 3 เครื่อง - กรณีไฟฟ้าดับเครื่องสำรองไฟฟ้าจะสามารถเปิด โดยอัตโนมัติภายใน 5 วินาที - ทุกหน่วยงาน จะมีไฟฉุกเฉินติดตั้งไว้โดยตรวจสอบความพร้อมใช้ในทุกหน่วยงาน เดือนละ 1ครั้ง ระบบจะทำการเมื่อไฟฟ้าดับภายใน 7 วินาที การบำรุงระบบไฟฟ้าสำรอง - มีการตรวจสอบประจำวัน / สัปดาห์ / เดือน

- จัดระบบการจ่ายน้ำประปาได้อย่างพอเพียง และมี คุณภาพ - กรณีน้ำประปาภายนอกโรงพยาบาลเกิดปัญหา สามารถใช้น้ำสำรองซึ่งโรงพยาบาลมีถังน้ำใต้ดินขนาด 180 ลูกบาศก์เมตร และเสริมด้วยบ่อบาดาล 2 บ่อ ซึ่งมีระบบกรองน้ำ ที่ได้มาตรฐาน โดยหน่วยงานมีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ

สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ              จัดการโรงพยาบาลให้เป็นสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ดำเนินงาน 5 ส. และกิจกรรม Big Cleaning เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง

- จัดสถานที่ออกกำลังกาย เป็นลักษณะสวนตีนเปล่า และจัดสร้างสถานที่ออกกำลังกายกลางแจ้ง โดยติดตั้งเครื่องออกกำลังกายให้บริการแก่ บุคลากร , ประชาชน และผู้มารับบริการ สร้างศูนย์ออกกำลังกายในร่ม ( Fitness center) บริเวณชั้น 1 ที่อาคารศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิก

จัดทำอ่างล้างภาชะรองรับอาหารและอ่างล้างมือตามจุดต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพดี ให้ญาติ และผู้รับบริการ

องค์กรส่งเสริมการเข้าถึง การบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์สร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสม กับบุคคล - ประกาศนโยบายโรงพยาบาลสีขาว - ติดป้ายประชาสัมพันธ์การงดสูบบุหรี่ ภายในโรงพยาบาล

องค์กรส่งเสริมการเข้าถึง การบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์สร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับบุคคล จัดกิจกรรมเพื่อลดพฤติกรรมการสูบบุหรี่แก่บุคลากร

องค์กรส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่มีสุขภาพดี โดยการจัดตลาดอาหารปลอดสารพิษ - ทุกวันศุกร์โรงพยาบาล จัดให้มีการจำหน่วยอาหารปลอดสารพิษ บริเวณข้างอาคารศูนย์แพทย์ศาสตร์ ฯ

สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ - ทุกหน่วยงาน จัดมุมเรียนรู้ บอร์ดนิทรรศการ สื่อสุขภาพ เอกสารหรือสื่ออื่นๆที่เกี่ยวข้องในทุกหน่วยงาน

- จัดห้องสมุดเคลื่อนที่บริเวณอาคารผู้ป่วยนอก เพื่อให้ประชาชนที่มารับบริการเพลิดเพลินและเรียนรู้พัฒนาทักษะการดูแลตนเอง

สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเยียวยา จัดสถานที่เพื่อให้ผู้รับบริการมีความสุข ผ่อนคลาย และหายจากโรคในเร็ววัน

ปรับภูมิทัศน์ หน้าอาคาร ศัลยกรรมอุบัติเหตุฉุกเฉิน

สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเยียวยา - จัดทำนโยบายโรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพรวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพทางด้านสังคม จิตใจ ที่ดีสำหรับผู้ป่วย ครอบครัวและบุคลากร โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในโรงพยาบาล การจัดสวนหย่อมบริเวณจุดต่างๆ เป็นต้น

โครงการเส้นทางสีเหลือง / ทำบุญเดือนเกิด

การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม - การใช้ EM ในการทำความสะอาดห้องน้ำและพื้น เพื่อลดค่า BOD ในน้ำเสียก่อนเข้าระบบบำบัดน้ำเสีย ลดกลิ่นเหม็นอับ และลดปริมาณ การใช้สารเคมี

1.จัดตั้งศูนย์รีไซเคิลน้ำ โดยการนำน้ำจากระบบบำบัดน้ำเสียมารดน้ำต้นไม้ในบริเวณโรงพยาบาล คลอบคลุมทุกพื้นที่ 2.เปลี่ยนหลอดไฟ จาก 36 วัตต์ เป็นหลอดประหยัดพลังงาน 28 วัตต์ (T5 ) และลดเหลือรางละ 2 หลอด 3 หลอด 36 วัตต์ เป็น 2 หลอด T5

ประกาศนโยบายการใช้ EM ทั่วทั้งโรงพยาบาล วันที่ 22 เมษายน 2556

ผลการพัฒนาที่สำคัญ - การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเยียวยา ส่งผลให้ได้รับรางวัล Healing Environment ระดับองค์กร ปี 2554 - ผ่านการรับรองสถานที่ทำงานน่าอยู่น่าทำงานระดับทอง จากกรมอนามัย ในปี 2555

ผลการพัฒนาที่สำคัญ - ได้รับรอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตามมาตรฐาน HPH plus จากกรมอนามัย ในปี 2554

- โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ได้รับคัดเลือก จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้เป็นสถานที่เอื้อต่อผู้สูงอายุและคนพิการ ปี 2555 - โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ได้รับรางวัล โรงพยาบาลสีเขียวประเภท “มุ่งมั่น” จากสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2555

เรื่องอื่น ๆ การแบ่งพื้นที่สะอาด และพื้นที่สกปรก ทุกหน่วยงานควรแบ่งโซนให้ชัดเจน การ จอดรถให้เป็นระเบียบ การแยกผ้าที่หอผู้ป่วยไม่ได้แยก ผ้าเปื้อนมาก และเปื้อนน้อย วัสดุอุปกรณ์ที่ติดมากับผ้า

เส้นทางการขนย้ายสิ่งสกปรก , สะอาด รับผ้าที่หอผู้ป่วย ครั้งที่ 1 07.00- 08.00 น ครั้งที่ 2 12.00 -13.00 น. ครั้งที่ 3 16.00 – 17.00 น. รับผ้าที่ OR ครั้งที่ 1 เวลา 07.00 – 08.00 ครั้งที่ 2 เวลา 13.00 – 13.30 ครั้งที่ 3 เวลา 15.00 – 15.30 น ครั้งที่ 4 เวลา 18.00 – 18.30 น. เส้นทางการขนย้ายสิ่งสกปรก , สะอาด

รับขยะติดเชื้อ เวลา 13. 00 น. 14. 00 น รับขยะติดเชื้อ เวลา 13.00 น. 14.00 น. ของวันทำการ วันหยุด หอผู้ป่วยนำส่งที่เรือนพักขยะ

สะอาด. ส่งผ้าสะอาดที่หอผู้ป่วย. ครั้งที่ 1 14. 00 -15. 00 น สะอาด ส่งผ้าสะอาดที่หอผู้ป่วย ครั้งที่ 1 14.00 -15.00 น. ครั้งที่ 2 18.00 – 19.00 น. ส่งอาหาร ครั้งที่ 1 06.00 - 06.30 น. ครั้งที่ 2 11.00 – 11.30 น. ครั้งที่ 3 15.30 – 16.00 น.