ทีม สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ทีม สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย โรงพยาบาลกาฬสินธุ์
บริบท การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ มีคณะกรรมการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย ดูแลกำกับ ควบคุม และพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อความปลอดภัยและความผาสุกของผู้ป่วย ผู้มารับบริการ และเจ้าหน้าที่
ด้านความปลอดภัย 1. โรงพยาบาลมีโครงสร้างทางกายภาพและสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย สะดวก เป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการ และชุมชน โดยมีการตรวจสอบจากหน่วยงานภายนอก
เกณฑ์มาตรฐาน ผลลัพธ์ การดำเนินการ กฎหมาย ข้อบังคับ ใช้ข้อกำหนดของกฎหมาย และ พรบ.ควบคุมอาคารสถานที่ ตรวจสอบ/ ปรับปรุง อาคารสถานที่ มีการจัดทำแผนตรวจสอบปรับปรุงประจำปี จากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ ที่ 2 ขอนแก่น ร่วมสำรวจ ปีละ 1 ครั้ง และจัดทำแผนปรับปรุงซ่อมแซม ทุกปี ผลการตรวจสอบและ สิ่งที่ได้มีการแก้ไข ปรับปรุง ตามกฎหมาย ปรับปรุงห้องแยกโรค อาคารผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก ปรับปรุงห้องน้ำสำหรับผู้เคลื่อนไหวลำบาก ขยายหอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย ปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียเป็นขนาด 2,000 ลบ.ม./วัน - ปรับปรุงสถานที่เก็บขยะติดเชื้อ โดยจัดหาถังขยะรองรับขยะติดเชื้อ และปรังปรุงห้องให้มิดชิดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ระบบบริหารอาคารสถานที่ - กำหนดให้มีคณะกรรมการผู้รับผิดชอบด้านอาคารสถานที่ ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย จัดทำแผนบริหารจัดการอาคารสถานที่ เป็นแผนปฏิบัติการประจำปี - มีการดำเนินการประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม โดยแบ่ง คณะกรรมการ ENV 4 ทีม
2. การดูแลรักษาความปลอดภัยชีวิตและทรัพย์สิน - มีมาตรการรักษาความปลอดภัย รปภ. 18 คน - มาตรการอื่น เช่น เพิ่มแสงสว่างทางเดิน , ถนน - ตรวจทางเข้า – ออก - การจัดพื้นที่จอด รถยนต์ รถจักรยานยนต์ เป็นสัดส่วน - การติดตั้งกล้องวงจรปิด ทางเข้า – ออก และภายใน อาคาร - จัดระบบการจราจรและขนส่งภายในโรงพยาบาลให้สะดวก ปลอดภัย
บริเวณลานจอดรถ บริเวณ แผนกX-ray จัดระบบการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินให้มีความมั่นใจ น่าเชื่อถือ บริเวณลานจอดรถ บริเวณ แผนกX-ray
ปัญหาและอุปสรรค - พื้นที่ไม่เพียงพอ - ยานพาหนะมีจำนวนมากขึ้น กำหนดเส้นทางเดินรถทางเดียว จัดโซนที่จอดรถ ยนต์ / จักรยานยนต์ ขอพื้นที่จอดรถจากศาลากลกางจังหวัด ขอรับสนับสนุนงบประมาณ ( รพ.ได้รับงบประมาณ 2557 ในการ ก่อสร้างอาคารสนับสนุนบริการ ขนาด 9 ชั้น
จัดระบบการป้องกันภาวะฉุกเฉินที่สำคัญ ของโรงพยาบาล จัดระบบการป้องกันภาวะฉุกเฉินที่สำคัญ ของโรงพยาบาล - จัดซ้อมแผนเพื่อป้องและระงับอัคคีภัยร่วมกับหน่วยงานภายนอก - ในทุกหน่วยงานมีแผนอัคคีภัย - การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย - การเคลื่อนย้ายเครื่องมือที่สำคัญ - เจ้าหน้าที่ตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องดับเพลิง ทุกเดือน - ป้ายบอกตำแหน่ง ทางหนีไฟทุกอาคาร - มีบันไดทางหนีไฟนอกอาคารในกรณีอาคารสูง
- ถนน - ลาดจอด มีขนาดเล็ก ปัญหาและอุปสรรค - ถนน - ลาดจอด มีขนาดเล็ก - ระบบท่อน้ำดับเพลิงของเทศบาลอยู่ห่างกัน สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป - เชื่อมต่อระบบท่อน้ำกับเทศบาลในกรณีเกิดอัคคีภัย
วัสดุและของเสียอันตราย - องค์กรได้ระบุรายการวัสดุอันตราย และของเสียอันตราย ที่ใช้หรือเกิดขึ้น จากการวิเคราะห์ลักษณะ ปัญหาสิ่งแวดล้อม เพื่อกำหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขความเสี่ยงนั้น ๆ เช่นยาฉีดเคมีบำบัด ขยะติดเชื้อ ขยะเคมีอันตราย จัดให้ความรู้กับบุคลากรเกี่ยวกับการแยกขยะ การแยกขยะและการจัดเก็บ การจัดการขยะชนิดต่าง ๆ
ชนิดของขยะ วิธีการจัดเก็บ การกำจัด 1. ขยะทั่วไป ใส่ถุงขยะสีดำ เทศบาลนำไปกำจัด 2. ขยะติดเชื้อ ใส่ถุงขยะสีแดง บริษัทเอกชน 3. ขยะสารเคมีอันตราย (ขวดภาชนะ , หลอดไฟฟ้า ) ถุงขยะสีเทา 4. เข็มและขอมีคม กล่องพลาสติกสีแดง
การคัดแยกขยะที่หน่วยงาน การเคลื่อนย้าย กำหนดเส้นทางและเวลาที่ชัดเจน
3. การจัดเก็บ 4. การกำจัด โดยบริษัทเอกชนรับไปกำจัด
4. ตามรอยเส้นทางการขนย้ายขยะติดเชื้อและเยี่ยมตรวจแหล่งกำจัดขยะติดเชื้อให้เป็นไปตามมาตรฐานของกรมอนามัย (จาก รพ.กาฬสินธุ์ สระบุรี นิคมอุตสาหกรรมบางประอิน จ.อยุธยา)
ระบบบำบัดน้ำเสีย - โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ใช้ระบบบำบัดน้ำเสีย แบบ - โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ใช้ระบบบำบัดน้ำเสีย แบบ คลองวนเวียน ชนิดตะกอนเร่ง ร่วมกับบ่อปรับเสถียร - สามารถรองรับปริมาณน้ำเสียได้ไม่ต่ำกว่า 1,500 – 2,000 ลบ.ม./วัน
จัดการระบบบำบัดน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ - การบำรุงรักษาและดูแลระบบ - การตรวจสอบคุณภาพน้ำประจำวัน และตามที่กฎหมายกำหนด - เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรม มีทักษะในงาน ที่เกี่ยวข้อง
ค่ามาตรฐาน BOD < 20 mg/l ตัวชี้วัดคุณภาพงานบำบัดน้ำเสีย การตรวจสอบคุณภาพน้ำ เดือน/ปี ค่ามาตรฐาน BOD < 20 mg/l
การจัดการเครื่องมือและสาธารณูปโภค การจัดการเครื่องมือและสาธารณูปโภค จัดระบบการบริหารเครื่องมืออย่างมีประสิทธิภาพ - จัดระบบการให้บริการก๊าซทางการแพทย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและพอเพียง - บรรจุได้ ....... ลิตร - มีการตรวจสอบ / บำรุงรักษา ของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบทุกวัน และศูนย์วิศวกรรมการ แพทย์ ขอนแก่น
การจัดการระบบไฟฟ้าสำรองได้อย่า ประสิทธิภาพปลอดภัย ระบบไฟฟ้ามีหม้อแปลงจำนวน 6 เครื่อง เครื่องกำเนิดไฟฟ้า จำนวน 3 เครื่อง - กรณีไฟฟ้าดับเครื่องสำรองไฟฟ้าจะสามารถเปิด โดยอัตโนมัติภายใน 5 วินาที - ทุกหน่วยงาน จะมีไฟฉุกเฉินติดตั้งไว้โดยตรวจสอบความพร้อมใช้ในทุกหน่วยงาน เดือนละ 1ครั้ง ระบบจะทำการเมื่อไฟฟ้าดับภายใน 7 วินาที การบำรุงระบบไฟฟ้าสำรอง - มีการตรวจสอบประจำวัน / สัปดาห์ / เดือน
- จัดระบบการจ่ายน้ำประปาได้อย่างพอเพียง และมี คุณภาพ - กรณีน้ำประปาภายนอกโรงพยาบาลเกิดปัญหา สามารถใช้น้ำสำรองซึ่งโรงพยาบาลมีถังน้ำใต้ดินขนาด 180 ลูกบาศก์เมตร และเสริมด้วยบ่อบาดาล 2 บ่อ ซึ่งมีระบบกรองน้ำ ที่ได้มาตรฐาน โดยหน่วยงานมีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ
สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ จัดการโรงพยาบาลให้เป็นสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ดำเนินงาน 5 ส. และกิจกรรม Big Cleaning เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
- จัดสถานที่ออกกำลังกาย เป็นลักษณะสวนตีนเปล่า และจัดสร้างสถานที่ออกกำลังกายกลางแจ้ง โดยติดตั้งเครื่องออกกำลังกายให้บริการแก่ บุคลากร , ประชาชน และผู้มารับบริการ สร้างศูนย์ออกกำลังกายในร่ม ( Fitness center) บริเวณชั้น 1 ที่อาคารศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิก
จัดทำอ่างล้างภาชะรองรับอาหารและอ่างล้างมือตามจุดต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพดี ให้ญาติ และผู้รับบริการ
องค์กรส่งเสริมการเข้าถึง การบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์สร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสม กับบุคคล - ประกาศนโยบายโรงพยาบาลสีขาว - ติดป้ายประชาสัมพันธ์การงดสูบบุหรี่ ภายในโรงพยาบาล
องค์กรส่งเสริมการเข้าถึง การบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์สร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับบุคคล จัดกิจกรรมเพื่อลดพฤติกรรมการสูบบุหรี่แก่บุคลากร
องค์กรส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่มีสุขภาพดี โดยการจัดตลาดอาหารปลอดสารพิษ - ทุกวันศุกร์โรงพยาบาล จัดให้มีการจำหน่วยอาหารปลอดสารพิษ บริเวณข้างอาคารศูนย์แพทย์ศาสตร์ ฯ
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ - ทุกหน่วยงาน จัดมุมเรียนรู้ บอร์ดนิทรรศการ สื่อสุขภาพ เอกสารหรือสื่ออื่นๆที่เกี่ยวข้องในทุกหน่วยงาน
- จัดห้องสมุดเคลื่อนที่บริเวณอาคารผู้ป่วยนอก เพื่อให้ประชาชนที่มารับบริการเพลิดเพลินและเรียนรู้พัฒนาทักษะการดูแลตนเอง
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเยียวยา จัดสถานที่เพื่อให้ผู้รับบริการมีความสุข ผ่อนคลาย และหายจากโรคในเร็ววัน
ปรับภูมิทัศน์ หน้าอาคาร ศัลยกรรมอุบัติเหตุฉุกเฉิน
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเยียวยา - จัดทำนโยบายโรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพรวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพทางด้านสังคม จิตใจ ที่ดีสำหรับผู้ป่วย ครอบครัวและบุคลากร โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในโรงพยาบาล การจัดสวนหย่อมบริเวณจุดต่างๆ เป็นต้น
โครงการเส้นทางสีเหลือง / ทำบุญเดือนเกิด
การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม - การใช้ EM ในการทำความสะอาดห้องน้ำและพื้น เพื่อลดค่า BOD ในน้ำเสียก่อนเข้าระบบบำบัดน้ำเสีย ลดกลิ่นเหม็นอับ และลดปริมาณ การใช้สารเคมี
1.จัดตั้งศูนย์รีไซเคิลน้ำ โดยการนำน้ำจากระบบบำบัดน้ำเสียมารดน้ำต้นไม้ในบริเวณโรงพยาบาล คลอบคลุมทุกพื้นที่ 2.เปลี่ยนหลอดไฟ จาก 36 วัตต์ เป็นหลอดประหยัดพลังงาน 28 วัตต์ (T5 ) และลดเหลือรางละ 2 หลอด 3 หลอด 36 วัตต์ เป็น 2 หลอด T5
ประกาศนโยบายการใช้ EM ทั่วทั้งโรงพยาบาล วันที่ 22 เมษายน 2556
ผลการพัฒนาที่สำคัญ - การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเยียวยา ส่งผลให้ได้รับรางวัล Healing Environment ระดับองค์กร ปี 2554 - ผ่านการรับรองสถานที่ทำงานน่าอยู่น่าทำงานระดับทอง จากกรมอนามัย ในปี 2555
ผลการพัฒนาที่สำคัญ - ได้รับรอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตามมาตรฐาน HPH plus จากกรมอนามัย ในปี 2554
- โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ได้รับคัดเลือก จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้เป็นสถานที่เอื้อต่อผู้สูงอายุและคนพิการ ปี 2555 - โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ได้รับรางวัล โรงพยาบาลสีเขียวประเภท “มุ่งมั่น” จากสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2555
เรื่องอื่น ๆ การแบ่งพื้นที่สะอาด และพื้นที่สกปรก ทุกหน่วยงานควรแบ่งโซนให้ชัดเจน การ จอดรถให้เป็นระเบียบ การแยกผ้าที่หอผู้ป่วยไม่ได้แยก ผ้าเปื้อนมาก และเปื้อนน้อย วัสดุอุปกรณ์ที่ติดมากับผ้า
เส้นทางการขนย้ายสิ่งสกปรก , สะอาด รับผ้าที่หอผู้ป่วย ครั้งที่ 1 07.00- 08.00 น ครั้งที่ 2 12.00 -13.00 น. ครั้งที่ 3 16.00 – 17.00 น. รับผ้าที่ OR ครั้งที่ 1 เวลา 07.00 – 08.00 ครั้งที่ 2 เวลา 13.00 – 13.30 ครั้งที่ 3 เวลา 15.00 – 15.30 น ครั้งที่ 4 เวลา 18.00 – 18.30 น. เส้นทางการขนย้ายสิ่งสกปรก , สะอาด
รับขยะติดเชื้อ เวลา 13. 00 น. 14. 00 น รับขยะติดเชื้อ เวลา 13.00 น. 14.00 น. ของวันทำการ วันหยุด หอผู้ป่วยนำส่งที่เรือนพักขยะ
สะอาด. ส่งผ้าสะอาดที่หอผู้ป่วย. ครั้งที่ 1 14. 00 -15. 00 น สะอาด ส่งผ้าสะอาดที่หอผู้ป่วย ครั้งที่ 1 14.00 -15.00 น. ครั้งที่ 2 18.00 – 19.00 น. ส่งอาหาร ครั้งที่ 1 06.00 - 06.30 น. ครั้งที่ 2 11.00 – 11.30 น. ครั้งที่ 3 15.30 – 16.00 น.