การอ่านกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Advertisements

สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักสูตรการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม พ.ศ.2548
และการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
AI02 กูเกิ้ล: กลไกการสืบค้นข้อมูลบนระบบอินเทอร์เน็ต Google: the Internet System Search Engine อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธวัชวงศ์ ลาวัลย์ โดย นางสาวธัญพร.
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
Seminar in computer Science
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
สรุปประเภทของการวิจัย
นายภมร ดรุณ นักศึกษาปริญญาเอก สารสนเทศศาสตร์ มสธ. รุ่นที่ 2
Management Information Systems
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก The e-Learning Readiness of PhD. Nursing Students ดร. เจือจันทน์ วัฒกีเจริญ มหาวิทยาลัย.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
กราบนมัสการ พระปริยัติสารเวที,ดร. คณบดีคณะศึกษาศาสตร์
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอ่านกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา ศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

สิ่งน่ารู้เกี่ยวกับการอ่านของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา วัย กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มผู้ใหญ่ วัตถุประสงค์ เน้นการศึกษา ค้นคว้า วิจัย รวมทั้งความบันเทิงพักผ่อนหย่อนใจ ประเภทหรือสื่อที่อ่าน สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์

เนื้อหา เทคนิคการอ่าน เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา/หลักสูตร/ การเรียน การสอน การค้นคว้าวิจัย การอ่านทั่วไป การอ่านสรุปความ ตีความ คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์

ตัวแปรที่ส่งผลต่อการอ่านของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก มีชั้นเรียน มหาวิทยาลัยเปิด มหาวิทยาลัยทางไกล รูปแบบ การศึกษา ระดับการศึกษา สาขาวิชา/ หลักสูตรที่ศึกษา ผู้สอน สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาและแหล่งการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องการติดตามวิทยาการ

ตัวแปรที่ส่งผลต่อการอ่านของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา (ต่อ) เทคนิคการสอน เช่น resourced –based teaching/ learning, research-based teaching learning กิจกรรมการเรียนการสอน ตัวแปร การวัดและประเมินผลการศึกษา สิ่งแวดล้อมด้านสิ่อการเรียนรู้โดยเฉพาะห้องสมุด บรรณารักษ์

การวิจัยเกี่ยวกับการอ่านของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา สาขาวิชาที่มีการวิจัยเกี่ยวกับการอ่าน - การศึกษาโดยเฉพาะ หลักสูตรและการสอน - ภาษา เช่น ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ - บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ - วิทยาการอื่นๆ และ สหวิทยาการ เช่น นิเทศศาสตร์/วารสารศาสตร์ จิตวิทยา คำที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยการอ่าน เช่น การวิจัยเอกสาร การวิเคราะห์เนื้อหา การสังเคราะห์เนื้อหา

ประเด็นการวิจัยการอ่านในสาขาการศึกษา หลักสูตรและการสอน เทคนิคการอ่าน /กลยุทธ์การอ่าน/ทักษะการอ่าน เทคนิคและวิธีการสอนอ่าน โดยใช้เทคนิควิธีการสอนแบบต่างๆ การใช้ กิจกรรม แบบฝึก ความสามารถในการอ่าน เช่น การสร้าง การวัด ผลสัมฤทธิ์การอ่าน เช่น ปัจจัยที่ส่งผล ปัญหาการอ่าน การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เช่น ชุดการสอนอ่าน บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์

ประเด็นการวิจัยการอ่านในสาขาการศึกษา หลักสูตรและการสอน ((ต่อ) แรงจูงใจในการอ่าน พฤติกรรมการอ่าน นิสัยรักการอ่าน สิ่งแวดล้อมในการอ่าน

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ประเด็นการวิจัย การอ่าน ในสาขาภาษา การอ่านวรรณกรรม

ตัวอย่าง เชิดศักดิ์ ชื่นตา สื่อการอ่านสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาการบริหาร วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ   มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2545    http://lib09.kku.ac.th/web/ สุธาจรี ดุรงค์พันธุ์ การทำนายความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษโดยอาศัย ความตะหนักในโครงสร้างของ ข้อเขียนในบทอ่านภาษาอังกฤษ เชิงสาธกโวหารของนิสิตชั้นปีที่ 1 วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยบูรพา 2544 สุวัฒนา รัชตะกูล วิธีการอ่านเรื่อง จากหลายแหล่งข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย     วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2545 http://lib09.kku.ac.th/web/ กาญจนา เตรียมธนาโชค ความสามารถในการอ่านและกลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่  วิทยานิพนธ์ปริญญา ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต(ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยพายัพ 2542 http://lib.payap.ac.th/

ประเด็นการวิจัยการอ่านในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ พัฒนาการจากการอ่านสู่การใช้ การแสวงหา การเข้าถึง การค้นคืน ตามพัฒนาการของศาสตร์และผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ การอ่านทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ การอ่านทรัพยากรสารสนเทศในเนื้อหาวิชา/สาขาต่างๆ เช่น วิชาการ สารคดี บันเทิงคดี นวนิยาย การอ่านทรัพยากรสารสนเทศของกลุ่มต่างๆ จำแนกตามวัย เช่น นักศึกษาคณะต่างๆ สาขาวิชาต่างๆ

ประเด็นการวิจัยการอ่านในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์(ต่อ) พฤติกรรมการอ่าน เช่น ความสนใจ ความต้องการ แรงจูงใจ การส่งเสริมการอ่าน ประสิทธิผลของการอ่าน ปัจจัยที่มีผลต่อการอ่าน บรรณบำบัด

ประเด็นการวิจัยการอ่านในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์(ต่อ) การแสวงหา (search)การเข้าถึง(access)การค้นคืน(retrieve) สารสนเทศ พฤติกรรมสารสนเทศ การใช้สารสนเทศ/ทรัพยากรสารสนเทศ/โดยเน้นสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ฐานข้อมูลเว็บไซต์ การรู้สารสนเทศ (information literacy)

ตัวอย่างข้อเสนอแนะจากการวิจัย กลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษ ควรอ่านเนื้อเรื่องคร่าวๆก่อนแล้วจึงค่อยกลับมาอ่านอีกรอบเพื่อจับใจความสำคัญ รองลงมาคือ ควรมีการหาความหมายของศัพท์ยากในแต่ละประโยค แล้วแปลความหมายทีละประโยค จนจบเนื้อเรื่อง ควรมีการตั้งคำถามหลังการอ่าน และควรสรุปย่อหลังจากอ่านเนื้อเรื่อง พรพิมล ทะละถา และคณะ การศึกษากลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของ นักศึกษาวิชาภาษาอังกฤษ มรภ เชียงราย 2547

ตัวอย่างข้อเสนอแนะจากการวิจัย การใช้การอ่านเพื่อกล่อมเกลาจิตใจ การปลูกฝังนักศึกษาให้มีคุณธรรมและจริยธรรมควบคู่กับการเพิ่มทักษะด้านภาษาอังกฤษ โดยนำการอ่านภาษาอังกฤษมาใช้กล่อมเกลาจิตใจในการพัฒนาความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษ พร้อมส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมโดยเน้นหลักพุทธธรรม เรื่องอิทธิบาท 4 คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะและวิมังสา ผลการวิจัยพบว่าทำให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์การเรียนสูงขึ้น เรียนอย่างสนุกสนาน เข้าใจ มีแรงจูงใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านภาษาอังกฤษ และตระหนักเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมมากขึ้น รวมทั้งทำให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง พี่งตนเอง เป็นหนทางไปสู่ความสำเร็จทั้งการเรียนและการใช้ชีวิตประจำวัน บุษบามินตรา ฉลวยแสง การใช้การอ่านเพื่อกล่อมเกลาจิตใจในการพัฒนาความสามารถ ทางภาษาอังกฤษและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น งานวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น2551

ประเด็นการอ่านในสาขาวิทยาการอื่นๆ และสหวิทยาการ 1 จิตวิทยา เช่น จิตวิทยาการอ่าน 2 จริยธรรม 3 นิเทศศาสตร์

ตัวอย่างงานวิจัยพฤติกรรมการอ่าน สาขานิเทศศาสตร์ ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์ ลักษณะเนื้อหา พฤติกรรมการอ่านและการใช้ประโยชน์ของเยาวชนไทยจากบางกอกโพสต์ สติวเด้นท์ วีคลี่และเนชั่นจูเนียร์ วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต (วารสารสนเทศ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2542 พัชราวดี พลศักดิ์ พฤติกรรมการอ่าน การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจจากข่าวสารในหนังสือพิมพ์ธุรกิจ ของนักศึกษาระดับปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจ หลักสูตรผู้บริหาร ในเขตกรุงเทพมหานคร   วิทยานิพนธ์วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2541 ฐิติมาศ เพ็ชรัตน์ การศึกษาพฤติกรรมการอ่าน และความต้องการเนื้อหาจากหนังสือ พิมพ์รายวัน ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ธุรกิจมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 2538

ตัวอย่างแหล่งข้อมูลเพื่อค้นคว้างานวิจัย/วิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้อง

http://www.thailis.or.th

การส่งเสริมการอ่านแก่นักศึกษาระดับอุดมศึกษา การสร้างแรงจูงใจ ความเชื่อมโยงการอ่านกับการศึกษา และวิถีชีวิต เกิดความตระหนักและเล็งเห็นความจำเป็น ความร่วมมือระหว่างผู้สอนกับบรรณารักษ์ ความร่วมมือระหว่างนักวิจัยในการวิจัยการอ่านลักษณะ สหสาขาวิชา ความร่วมมือในการส่งเสริมการอ่านอย่างครบวงจรตั้งแต่ ระดับโรงเรียนจนถึงระดับอุดมศึกษา ระดับครอบครัวจนถึง สำนักงานและสังคม ความร่วมมือแก้ไขปัญหาและพัฒนาการอ่านในลักษณะ บูรณาการ

ขอบคุณ และ สวัสดีค่ะ