หน่วยที่ 9 แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไปที่ 7  ก่อนเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Word เพื่อสร้าง เอกสารรายงานต่าง ๆ เราจำเป็นต้องรู้ วิธีการเรียกใช้งาน ที่ถูกต้อง เพื่อให้ใช้ โปรแกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ.
Advertisements

ชื่อเรื่อง สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครู ผู้วิจัย
การเขียนโครงร่างวิจัย
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
แบบสอบถาม (Questionnaire)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
พื้นฐานการใช้งานโปรแกรมAdobe Photoshop
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
Pro/Desktop.
การวัด Measurement.
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
วิชาโปรแกรมประมวลผลคำ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การใช้งาน Microsoft Excel
นาย ชญานิน ฉวีอินทร์ รหัส กลุ่ม PE11 ตอนเรียน B06.
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
นางสาว ณัฐนิช อดิวัฒนสิทธิ์ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
CD แผ่น ชื่อ File Program
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การนำเข้าข้อมูล โปรแกรม Epidata.
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
ยินดีต้อนรับผู้เข้าอบรมการพัฒนาเว็บไซต์ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
เรื่อง แนะนำโปรแกรม Microsoft excel หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1 ปฏิบัติการที่ 03 การใช้งาน โปรแกรม Microsoft PowerPoint.
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
การออกแบบและเทคโนโลยี
Word ที่ไม่ใช่แค่ Word
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Introduction to VB2010 EXPRESS
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 3 การสร้างเว็บไซต์ และการปรับคุณสมบัติของเว็บเพจ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
Project Project (โครงงาน) ปริญญานิพนธ์ กิจกรรมซึ่งดำเนินงานตามลำดับ
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การวิเคราะห์แบบสอบถามด้วยโปรแกรม SPSS
SMS News Distribute Service
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การออกแบบแบบสอบถาม การออกแบบแบบสอบถาม
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 9 แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS นายวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยดารอาชีพปราณบุรี

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ SPSS SPSS เป็นเครื่องมือสำหรับจัดกระทำข้อมูล สามารถนำข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลมาประมวลผลด้วยตาราง สร้างกราฟ และวิเคราะห์ทางสถิติที่หลากหลาย ถ้าผู้วิเคราะห์ต้องการใช้โปรแกรม SPSS ดำเนินการจัดการกับข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิเคราะห์จะต้องเขียนโปรแกรมคำสั่งเพื่อสั่งให้โปรแกรม SPSS กระทำตามที่ผู้วิเคราะห์ต้องการ โดยต้องมีส่วนประกอบสำคัญ 2 อย่างคือ โปรแกรม ข้อมูลจากแบบประเมินหรือแบบสอบถาม

ส่วนประกอบของหน้าจอ Title Bar Menu Bar Variables = กำหนดชื่อตัวแปร Cell Editors = กำหนดค่าตัวแปร Cell = สำหรับกำหนดค่าตัวแปร Cases = ชุดของตัวแปร View Bar = Data View, Variable View Variable View = สร้างและแก้ไขโครงสร้างตัวแปร Status Bar = แสดงสถานะการทำงาน Data View = เพิ่มและแก้ไขตัวแปร

ส่วนประกอบของ View Bar วัตถุประสงค์ของมุมมองคือ เป็นการแบ่งงานออกเป็นสองส่วนใหญ่คือ ส่วนออกแบบกำหนดโครงสร้างตัวแปรและส่วนกำหนดค่าชุดตัวแปร โดยแบ่งมุมมองออกเป็น 2 มุมมอง ได้แก่ Variable view Data view

Variable view Variable view  เป็นส่วนกำหนดคุณสมบัติของตัวแปร Variable โดยการสร้างและแก้ไขโครงสร้างตัวแปร ดังภาพ Name = กำหนดชื่อตัวแปร Type = กำหนดชนิดของตัวแปร Width = กำหนดจำนวนของค่าตัวแปรหรือจำนวนความกว้างของค่าตัวแปร Decimals = กำหนดจำนวนของจุดทศนิยม Label = กำหนดชื่อของตัวแปรจะมีผลเมื่อเราออกแบบรายงานเป็นกราฟ Value = กำหนดค่าตัวแปรโดยมิต้องไปกำหนดที่ Variable view Missing = กำหนดเมื่อไม่พบค่าตัวแปรของชุดตัวแปรนั้น Columns = กำหนดความกว้างของช่อง Columns สำหรับกรอกข้อมูล Align = จัดค่าของชุดตัวแปรให้ชิดซ้าย กลาง หรือ ขวา Measure = กำหนดมาตราวัดของตัวแปร

Data view Data view เป็นส่วนกำหนดค่าชุดของตัวแปรในแต่ละชุดหรือ Data entry ดังภาพ

ตัวอย่างแบบสอบถาม แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้ห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข สำหรับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ข้อตกลง การจัดแบ่งค่าระดับความพึงพอใจดังนี้ 5 = พึงพอใจมากที่สุด 4 = พึงพอใจมาก 3 = พึงพอใจปานกลาง 2 = พึงพอใจน้อย 1 = ไม่พึงพอใจ

ตัวอย่างแบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคล 1. เพศ [ ] ชาย [ ] หญิง 1. เพศ [ ] ชาย [ ] หญิง 2. วุฒิการศึกษา [ ] ปริญญาตรี [ ] ปริญญาโท [ ] ปริญญาเอก 3. ภาควิชา [ ] กายวิภาคศาสตร์ [ ] พยาธิชีววิทยา [ ] คณิตศาสตร์ [ ] พฤกษศาสตร์ [ ] คอมพิวเตอร์ [ ] ฟิสิกส์ [ ] เคมี [ ] ภาษาต่างประเทศ [ ] ชีวเคมี [ ] เภสัชวิทยา [ ] ชีววิทยา [ ] สรีรวิทยา [ ] เทคโนโลยีชีวภาพ

ตัวอย่างแบบสอบถาม ระดับความคิดเห็น ข้อคำถาม 5 4 3 2 1 ให้ทำเครื่องหมาย  ลงบนค่าระดับความพึงพอใจที่สอดคล้องกับท่านมากที่สุด โดยใช้ข้อมูลตามข้อตกลงข้างต้น ข้อคำถาม 5 4 3 2 1 1. การให้บริการยืม-คืน   2. การให้บริการสืบค้นข้อมูล 3. การให้บริการสำเนาเอกสาร 4. ความรวดเร็วในการให้บริการ 5. อัธยาศัยของเจ้าหน้าที่ 6. ความสะอาดและสวยงามของสถานที่ 7. ปริมาณและความทันสมัยของทรัพยากร

การเริ่มต้นการใช้งาน การเรียกโปรแกรม คลิกที่นี่

การเริ่มต้นการใช้งาน ส่วนประกอบของกรอบ SPSS for Windows Run the tutorial หมายถึง การเปิดบทเรียนช่วยสอนเรื่อง SPSS for Windows Type in data หมายถึง การเริ่มต้นกำหนดตัวแปรและให้ค่าตัวแก่แปร Run an existing หมายถึง การทำงาน SPSS ร่วมกับระบบฐานข้อมูล Create new query using Database Wizard หมายถึง การสร้างส่วนทำงานร่วมกับระบบฐานข้อมูล Open an existing data source หมายถึง การนำข้อมูลโปรแกรม SPSS มาทำการแก้ไข เพิ่มให้ค่าตัวแปร และ วิเคราะห์ผล Open another type of file หมายถึง การนำข้อมูลโปรแกรมอื่นๆ มาทำงานร่วมกับโปรแกรม SPSS

การเริ่มต้นการใช้งาน การเปิดแฟ้มข้อมูลสำหรับทำงาน เมื่อเลือก Type in data แล้วคลิก OK จะปรากฏหน้าต่าง SPSS Data Editor สำหรับป้อนข้อมูล คลิกที่ Open an existing data source เพื่อเลือกไฟล์ที่เคยป้อนข้อมูลไว้แล้ว คลิกที่ Open another type of file เพื่อเลือกไฟล์ที่เคยป้อนข้อมูลไว้แล้วแต่ไม่ใช่ไฟล์ที่เป็นแผ่นงาน

กำหนดหน้าจอ Data ในการแสดงภาษาไทย เลือกเมนู View -> Fonts เลือก Font และ Size ตามที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม OK หมายเหตุ ชื่อฟอนต์ที่เป็นภาษาไทยส่วนใหญ่จะลงท้ายด้วย UPC

การป้อนข้อมูล ขั้นตอนแรกคือการกำหนดตัวแปร ตัวแปรก็คือข้อคำถามต่างๆ ในแบบสอบถามนั่นเอง โดยจะใช้มุมมอง Variable view เป็นการกำหนดตัวแปร โดยให้กำหนดชื่อ (Name) ค่า (Value) มาตราวัด (Measure) ของตัวแปรในแต่ละข้อคำถามดังนี้

การกำหนดตัวแปร สิ่งที่จะต้องเตรียมคือ การตั้งชื่อตัวแปร (Naming a variable) ฉลากตัวแปร (Variable labels) ค่าฉลาก (Value labels) ค่าสูญหาย (Missing values) ชนิดตัวแปร (Variable type) รูปแบบสดมภ์ (Column format) ระดับการวัด (Measurement level)

การตั้งชื่อตัวแปร (Naming a variable) การตั้งชื่อ (Name) กำหนดดังนี้ ข้อ 1 เพศ = Sex ข้อ 2 วุฒิการศึกษา = Degree ข้อ 3 ภาควิชา = Department ข้อ 4 ระดับความคิดเห็น ข้อ 4.1 = Topic1 ข้อ 4.2 = Topic2 ข้อ 4.3 = Topic3 ข้อ 4.4 = Topic4 ข้อ 4.5 = Topic5 ข้อ 4.6 = Topic6 ข้อ 4.7 = Topic7

การกำหนดค่าตัวแปร (Value) Sex มีได้ 2 ค่าคือ ชาย, หญิง Degree มี 3 ค่าคือ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก Department มี 14 ค่าคือ กายวิภาคศาสตร์ คณิตศาสตร์ เคมี ชีววิทยา เป็นต้น Topic1, Topic 2, Topic 3, Topic 4, Topic 5, Topic 6, Topic 7 มีค่าตัวแปรที่เหมือนกัน 5 ค่าคือ          พึงพอใจมากที่สุด          พึงพอใจมาก          พึงพอใจปานกลาง          พึงพอใจน้อย          ไม่พึงพอใจ

การกำหนดมาตราในการวัด (Measure) Norminal เป็นมาตราวัดที่สามารถแบ่งค่าของกลุ่มตัวแปรที่แตกต่างกันได้เป็นส่วนๆ แต่ไม่สามารถทราบว่าค่าตัวแปรใดมากกว่ากันและมากกว่ากันเท่าไร เช่น เพศ ชาย หญิง, คำนำหน้าชื่อ นาย นางสาว เป็นต้น

การกำหนดมาตราในการวัด (Measure) Ordinal เป็นมาตราวัดที่สามารถแบ่งค่าของกลุ่มตัวแปรที่แตกต่างกันได้เป็นส่วนๆ และสามารถทราบด้วยว่าค่าตัวแปรใดมากกว่ากัน แต่ไม่ทราบว่ามากกว่ากันเท่าไร เช่น เกรด A B C D, ชั้นเรียน ม.1 ม.2 ม.3 เป็นต้น Scale เป็นมาตราวัดที่สามารถแบ่งค่าของกลุ่มตัวแปรที่แตกต่างกันได้เป็นส่วนๆ สามารถทราบด้วยว่าค่าตัวแปรใดมากกว่ากัน และทราบว่ามากกว่าค่าตัวแปรใดมากกว่ากันเท่าไร เช่น อายุ, น้ำหนัก, ระยะทาง, ความยาว เป็นต้น

การกำหนดมาตราในการวัด (Measure) Sex = Norminal Degree = Ordinal Department = Norminal Topic1,Topic2,Topic3,Topic4,Topic5,Topic6,Topic7 = Ordinal

การลงข้อมูลตัวแปรใน Variable view ลงชื่อตัวแปรที่ช่อง Name Type โดยส่วนใหญ่มักกำหนด Numeric หรือ String โดยการคลิกที่ปุ่มสีเทา จากนั้นกดปุ่ม OK ดังภาพ

การลงข้อมูลตัวแปรใน Variable view Width และ Decimals โดยส่วนใหญ่ไม่ต้องกำหนด ส่วน Label คือการกำหนดข้อความขยายชื่อตัวแปร เพื่ออธิบายชื่อตัวแปรและแสดงออกทางผลลัพธ์ ให้พิมพ์ตรงคอลัมน์ Label เช่น Sex โดยที่ Label นี้จะแสดงผลในกราฟเมื่อเราเริ่มทำการวิเคราะห์ข้อมูล ดังภาพ

การลงข้อมูลตัวแปรใน Variable view Value กำหนดคำอธิบายให้กับค่าตัวแปร โดยให้คลิกที่ปุ่มสีเทา จากนั้นจะพบกรอบ Value Label ในช่อง Value กำหนดเป็น 1 และ Value Label กำหนดเป็นชาย แล้วกดปุ่ม Add ส่วนหญิงกำหนดเป็น 2 ตามลำดับ

การลงข้อมูลตัวแปรใน Variable view Missing กำหนดค่าที่ไม่นำไปวิเคราะห์ มี 2 แบบ คือ User Missing ผู้วิจัยเป็นผู้กำหนด เช่น 9, 99, 999 และ System Missing โปรแกรมจะกำหนดให้เอง Measure ให้คลิกที่ปุ่มสีเทา จากนั้นกำหนดระดับการวัดของข้อมูล เลือก Scale, Ordinal หรือ Nominal

การลงข้อมูลตัวแปรใน Variable view Align ให้แสดงค่าตัวแปร ชิดซ้าย กึ่งกลาง ชิดขวา ส่วนในตัวแปรอื่นๆ ก็มีการลงข้อมูลในลักษณะเดียวกัน แตกต่างกันไปตาม Label, Values กับ Measure

การป้อนข้อมูล จากหน้าจอ Data View นำเข้าข้อมูลที่มีหัวตารางเป็นไปตามที่เราได้กำหนดตัวแปรไว้แล้ว ในส่วนนี้เราสามารถทำการนำเข้าข้อมูล Data Entry ตามตารางข้อมูลข้างต้นได้เลย ดังภาพ

การบันทึกข้อมูล ไปยัง File->Save Data As กำหนดสถานที่จัดเก็บข้อมูลในช่อง Save in และกำหนดชื่อ File ในช่อง File name File ที่ได้จะมีนามสกุลเป็น .sav

The END Thank you