งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
รหัสวิชา วิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ (ปรับปรุง 2557)  ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2 จุดประสงค์รายวิชา 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรม
2. วิเคราะห์งาน ใช้ผังงานและรหัสเทียม เพื่อลำดับขั้นตอนการทำงาน 3. ออกแบบโปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจอย่างง่าย 4. ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนคำสั่งควบคุมการทำงานเบื้องต้น 5. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์ รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

3 สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรมและวิเคราะห์งาน 2. ออกแบบ เขียนผังงาน รหัสเทียม ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา (Algorithms) 3. เขียนโปรแกรมธุรกิจอย่างง่าย รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

4 คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรมและการวิเคราะห์งาน ผังงาน รหัสเทียม ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา (Algorithms) โครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ และการใช้กระบวนการเขียนโปรแกรม คำสั่งการคำนวณ เงื่อนไขกรณี และการทำซ้ำ การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อประยุกต์ในงานธุรกิจ รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

5 หน่วยการสอน บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 หลักการเขียนโปรแกรม บทที่ 3 ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา (Algorithm) และผังงาน (Flow Chart) บทที่ 4 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code) บทที่ 5 การจัดเตรียมเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม บทที่ 6 โครงสร้างและไวยกรณ์ภาษาซี บทที่ 7 กระบวนการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง บทที่ 8 อาร์เรย์และโครงสร้าง บทที่ 9 การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อประยุกต์ใช้ในธุรกิจ รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

6 บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
1.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 1.2 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.3 การจัดการข้อมูลและการเข้าถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1.4 ข้อมูล 1.5 ตัวแปร 1.6 ค่าคงที่ 1.7 ตัวดำเนินการ 1.8 นิพจน์ รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

7 บทที่ 2 หลักการเขียนโปรแกรม
2.1 แนวคิดการเขียนโปรแกรม 2.2 การเขียนโปรแกรมโครงสร้าง (Structure Programming) 2.3 เริ่มต้นเขียนโปรแกรม 2.4 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น 2.5 คุณลักษณะของนักเขียนโปรแกรมที่ดี 2.6 ลักษณะของโปรแกรมที่ดี 2.7 ตัวอย่างการวิเคราะห์งานและการเขียนโปรแกรม รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

8 บทที่ 3 ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา (Algorithm) และผังงาน (Flow Chart)
3.3 เครื่องมือที่ช่วยในการเขียนอัลกอริทึม 3.4 ผังงาน (Flow Chart) 3.5 การเขียนผังงานโปรแกรม รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

9 บทที่ 4 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
4.2 ความหมายของรหัสเทียม 4.3 ประโยชน์ของการเขียนรหัสเทียม 4.4 หลักในการเขียนรหัสเทียม 4.5 พื้นฐานการเขียนรหัสเทียม 4.6 ตัวอย่างการเขียนรหัสเทียม รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

10 บทที่ 5 การจัดเตรียมเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม
5.1 แนวคิด 5.2 การติดตั้งโปรแกรม Turbo C/C++ V3.0 5.3 การเรียกใช้งานโปรแกรม Turbo C/C++ V3.0 5.4 การเรียกใช้งานโปรแกรม Turbo C/C++ V3.0 ผ่านโปรแกรม DOSBox 5.5 การใช้งานโปรแกรม Turbo C/C++ V3.0 5.6 การใช้เมนูคำสั่งในโปรแกรม Turbo C/C++ V3.0 5.7 การติดตั้ง EditPlus ร่วมกับ Turbo C/C++ V3.0 รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

11 สอบกลางภาคบทที่ 1 – บทที่ 5
สอบกลางภาค (20 คะแนน) ภาคเรียนที่ 1/2559 รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

12 บทที่ 6 โครงสร้างและไวยากรณ์ภาษาซี
6.1 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี 6.2 ประโยคคำสั่ง (Statement) ในภาษาซี 6.3 ข้อมูล (Data) 6.4 ตัวแปร (Variable) 6.5 ตัวดำเนินการ (Operation) 6.6 นิพจน์ (Expression) 6.7 ฟังก์ชันมาตรฐาน (Basic Function) รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

13 บทที่ 7 กระบวนการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง
7.1 การเขียนโปรแกรมโครงสร้างการทำงานแบบลำดับ (Sequence) 7.2 การเขียนโปรแกรมโครงสร้างการทำงานแบบตัดสินใจทางเลือกตามเงื่อนไข 7.3 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบทางเลือก 7.4 การเขียนโปรแกรมโครงสร้างการทำงานแบบมีการทำซ้ำ (Repeation) 7.5 คำสั่งควบคุมอื่นๆ 7.6 ลูปซ้อน (Next Loop) รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

14 บทที่ 8 อาร์เรย์และโครงสร้าง
8.1 อาร์เรย์ 8.2 ตัวแปรโครงสร้าง 8.3 บิตฟิลด์ (Bit Field) 8.4 ยูเนียน (Unions) 8.5 ข้อมูลชนิด (Enumerations) รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

15 บทที่ 9 การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อประยุกต์ใช้ในธุรกิจ
9.1 แฟ้มข้อมูล 9.2 การออกแบบโปรแกรม 9.3 การออกแบบโปรแกรมเมนูหลัก (Main Menu) รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

16 สอบปลายภาคบทที่ 6 – บทที่ 10
สอบปลายภาค (30 คะแนน) ภาคเรียนที่ 1/2559 รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

17 การวัดผลและประเมินผล
1. จิตตนิสัย 20 คะแนน 2. งานที่มอบหมาย 30 คะแนน 3. สอบกลางภาค 20 คะแนน 4. สอบปลายภาค 30 คะแนน รวมคะแนน คะแนน รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

18 แนะนำรายวิชาเรียน ภาคเรียนที่ 1/2559
จบการนำเสนอ แนะนำรายวิชาเรียน ภาคเรียนที่ 1/2559 รายวิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์


ดาวน์โหลด ppt ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google