งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวัด Measurement.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวัด Measurement."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวัด Measurement

2 การวัด (Measurement) คือกระบวนการที่แปลงสภาพแนวคิดหรือตัวแปรที่ต้องการเก็บข้อมูล โดยให้ตัวเลขเกี่ยวกับสิ่งที่วัด เหตุการณ์ หรือตัวบุคคลตามที่กำหนด เช่น การนับจำนวนผู้มารับบริการตรวจโรคในแผนกผู้ป่วยนอก จำแนกตาม เพศ, อายุ, โรคที่เป็น, บริการที่ได้รับ

3 ตัวแปร (Variables) คือคุณสมบัติ หรือคุณลักษณะของหน่วยที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา การวัดแต่ละครั้งจะต้องพิจารณาว่าตัวแปรที่ศึกษาคืออะไร มีจำนวนมากน้อยเท่าใด ชนิดของตัวแปรเป็นแบบใด เพื่อทำให้สามารถเลือกเครื่องมือที่เหมาะสมครอบคลุมตรงตามวัตถุประสงค์ขอการศึกษาวิจัย ผลการวัดชนิดแข็ง (Hard Outcome) มีคุณสมบัติเป็นรูปธรรม วัดง่าย ไม่ยุ่งยาก เช่น อายุ, ความดันโลหิต, เพศ, ความตาย ผลการวัดชนิดอ่อน (Soft Outcome) วัดออกมาเป็นรูปธรรมได้ยาก เช่น ความเจ็บปวด, ความวิตกกังวล, คุณภาพชีวิต

4 ระดับของการวัด การวัดแบบกลุ่ม (Nominal Scale)
การวัดแบบอันดับ (Ordinal Scale) การวัดแบบช่วง (Interval Scale) การวัดอัตราส่วน (Ratio Scale)

5 การเลือกเครื่องมือวัดทางสุขภาพ
พิจารณาจาก คำถามในการศึกษาวิจัย วัตถุประสงค์ของการวัด ตัวแปรในการศึกษา ประชากรและกลุ้มตัวอย่างในการศึกษา คุณประโยชน์และข้อจำกัดของเครื่องมือ และเลือกเครื่องมือวัดที่เหมาะสม

6 ชนิดของเครื่องมือวัด
การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจทางรังสี การตรวจโดยใช้เครื่องมือทางการแพทย์ชนิดต่างๆ การใช้แบบสอบถาม การสร้างมาตรวัด การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การศึกษาเฉพาะราย

7 การวัดข้อมูลเชิงปริมาณ Quantitative Study
คือการวัดปรากฏการณ์ตัวแปรในการศึกษาออกมาในรูปของจำนวน ใช้ข้อมูลที่เป็นตัวเลข เป็นหลักฐานยืนยันการวัด สรุปความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

8 การวัดข้อมูลเชิงคุณภาพ Qualitative Study
การสังเกต (Observation) การสัมภาษณ์ในทางลึก (In – depth Interview) การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) การศึกษาเฉพาะราย (Case Study / Life History Collection)

9 ความถูกต้องของการวัด
ความถูกต้องในเนื้อหา (Content Validity) ความถูกต้องในทัศนะของผู้เกี่ยวข้อง (Face Validity) ความถูกต้องของการวัดที่สามารถอธิบายด้วยเหตุผมประกอบ (Construct Validity) ความถูกต้องของการวัดโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน (Criterion Validity)

10 ความเชื่อถือได้ของการวัด Reliability
คือการวัดที่ผลการวัดมีความสอดคล้องเหมือนกัน มีค่าใกล้เคียงกัน ซึ่งอาจจะวัดโดยคน ๆ เดียวหลาย ๆ ครั้ง หรือทำโดยคนหลาย ๆ คนในครั้งเดียว การวัดความเชื่อถือได้ที่ใช้กันทั่วไป คือ วิธีการวัดความสอดคล้องภายใน เพื่อดูเนื้อหาของมาตรวัดมีความสอดคล้องไปในเรื่องเดียวกัน และวิธีการวัดความคงที่ของเครื่องมือ โดยวิธีการวัดซ้ำ หรือทดสอบซ้ำ

11 ความเชื่อถือได้ของการวัด Reliability
องค์ประกอบที่สำคัญของการวัด ผู้วัด ผู้ถูกวัด เครื่องมือวัด สภาวะแวดล้อม อคติในการวัด (Biases)

12 อคติในการวัด (Biases)
หมายถึง ความคลาดเคลื่อนของการวัดที่ค่าของ การวัดไม่ตรงกับความจริง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท อคติที่เกิดจากการสุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัย (Sampling Bias) อคติที่เกิดจากการวัด (Measurement Bias)


ดาวน์โหลด ppt การวัด Measurement.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google