การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
Advertisements

วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาการเรียนการสอน ในรายวิชา หลักการออกแบบกราฟิก แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิก โดยใช้เกมโลโก้ อิเล็กทรอนิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 นายธนาลักษณ์
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
----- ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของนักเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในรายวิชา การบัญชีตั๋วเงินของ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยี พณิชยการเชียงใหม่
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ครูผู้สอนกลุ่มธุรกิจ

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
นางสุภาภรณ์ หงษ์ สุวรรณ วิทยาลัย อาชีวศึกษาดุสิต พณิชยการ นำเสนอ ประเภทที่ 1 วิจัยการเรียนการ สอน ( วิจัยชั้นเรียน ) นำเสนอ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน วิจัยโดย นางสาวดาวประกาย บัววิชัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม บริหารธุรกิจ (SBAC)

ปัญหาในการวิจัย ต้องการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ พัฒนาทักษะให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ต่างๆในการเรียนการสอนและมีการสนับสนุนให้มี การช่วยเหลือกันในด้านการเรียนในชั้นเรียน โดยที่ เด็กเก่งสามารถช่วยเหลือเด็กอ่อน มีความสามัคคี กัน รักกัน และเห็นอกเห็นใจกันในวิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบโดยการเรียนการสอนที่ให้ นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิทางการเรียนสูงสอนเพื่อน นักเรียนที่ มีผลสัมฤทธิทางการเรียนต่ำ เรียกว่า การสอนโดยเพื่อนช่วยเพื่อน

นักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่ 3 สาขาวิชางานคอมพิวเตอร์กราฟิก วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ จำนวน 4 ห้องเรียน 160 คน ได้มาด้วยการ ใช้วิธีเลือกทั้งหมด กลุ่มตัวอย่าง เลือกมาจาก ประชากร

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบสาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงยิ่งขึ้น เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบ

เครื่องมือการทดลอง กำหนดประชากรกลุ่มตัวอย่าง เพื่อเตรียม สำหรับการจัดกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน ก่อนเริ่มทำกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน ผู้เรียน จะทำแบทดสอบก่อนเรียนก่อนเพื่อวัด ระดับความรู้ ในขณะที่ทำการเรียนผู้เรียนจะต้องเข้าร่วม กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดยจะแบ่งการ เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ หลังจากทำกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ เพื่อนช่วยเพื่อนแล้วจะต้องการทดสอบ หลังเรียน

กรอบแนวคิดการวิจัย วิธีสอน 1. การสอนแบบปกติ 2. การจัดการเรียนการสอน แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน ผลสัมฤทธิ์ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. ทักษะการเรียนของ นักเรียน 3. ความพึงพอใจการจัดการ เรียนการสอนแบบกลุ่ม เพื่อนช่วยเพื่อน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนด้วย วิธีเพื่อนช่วยเพื่อน การ ทดสอบ S.D.t ก่อนเรียน หลังเรียน * * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05

สรุปผลการวิจัย ผู้วิจัยได้นำข้อมูลมาสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ หลังจากได้ดำเนินการวิจัยการเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์เพื่อ การออกแบบของนัก เรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่.3 สาขาวิชางานคอมพิวเตอร์ก ราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน สามารถสรุป ผลการวิจัยได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผู้เรียนหลังเรียนด้วยวิธีการเพื่อนช่วยเพื่อน สูง กว่าก่อนเรียนด้วยวิธีการเพื่อนช่วยเพื่อน ที่ ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่.05

ประโยชน์ที่ได้รับจากการ ศึกษาวิจัย ประโยชน์สำหรับครู ทำให้มีครูเพิ่มขึ้นจากเดิมมี 1 คน ใน 1 ห้องเรียน เมื่อมีเพื่อนนักเรียนช่วยสอนจึง เท่ากับว่ามีครูมากกว่า 1 คน ในห้องเรียน ครูมีคนช่วย ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดและทั่วถึงยิ่งขึ้น ประโยชน์สำหรับนักเรียน นักเรียนจะได้รับ ผลประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่าย คือ นักเรียนผู้ช่วยสอน จะ เกิดทักษะในการเรียนรู้และทักษะทางสังคมมากขึ้น นักเรียนผู้ถูกสอน จะเรียนรู้ได้ดีขึ้นจาการใช้ภาษา ของเพื่อนในวัยเดียวกัน