ความเครียดและการเผชิญความเครียดของเยาวชนในศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน เขต9 จังหวัดสงขลา Stress and Coping with Stress among Youths in the Child and Youth Training Center Region 9, Songkhla Province ผู้วิจัย มนัสวี ภู่เผ่าพันธ์ หลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม ปี 2555
วัตถุประสงค์ของ การศึกษา
1.เพื่อศึกษาระดับความเครียด และการเผชิญความเครียดของ เยาวชนในศูนย์ฝึกฯเขต 9 จังหวัด สงขลา 2.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคลกับความเครียดกับ เยาวชนในศูนย์ฝึกฯเขต 9 จังหวัด สงขลา จำนวน 320 คน
3.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการ เผชิญความเครียดกับเยาวชนใน ศูนย์ฝึกฯเขต 9 จังหวัดสงขลา จำนวน 320 คน 4. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างความเครียดกับการเผชิญ ความเครียดของเยาวชนในศูนย์ฝึก ฯ เขต 9 จังหวัดสงขลา
ผลการศึกษาข้อมูล ทั่วไป ของเยาวชน ผลการศึกษาข้อมูล ทั่วไป ของเยาวชน
ด้านอายุ การศึกษา ระยะเวลาที่เข้ามาอยู่ ในศูนย์ฝึกฯ พบว่า -กลุ่มตัวอย่างเป็นเยาวชนอายุ 15 ปี -จบการศึกษาค่อนข้างต่ำคือ จบชั้น ประถมศึกษา -เยาวชนที่เข้ามาอยู่ในสถานพินิจเป็นเวลา 2 ปี ด้านสภาพแวดล้อมทางครอบครัวพบว่า -บิดา มารดาประกอบอาชีพรับจ้างมาก ที่สุด -มีรายได้ 10,001-20,000 บาทต่อเดือน ด้านการกระทำความผิดพบว่า -เยาวชนกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด
ผลการวิจัยความเครียด ของเยาวชน
1.ความเครียดด้านร่างกาย พบว่า การนอนไม่หลับ ใจสั่น แน่นหน้าอกหลังการสูญเสียอิสรภาพและมีอาการปวดศีรษะบ่อยครั้งมากกว่าการอยู่นอกศูนย์ฝึกฯ ภาพรวมจัดอยู่ในระดับปานกลาง 2.ความเครียดด้านจิตอารมณ์และสังคม พบว่ามีความกังวลต่ออนาคต รู้สึกว่าการอยู่ในศูนย์ฝึกฯโดนกักขังบริเวณทำให้เหงาอ้างว้างและรู้สึกไม่มั่นใจในความปลอดภัยเมื่ออยู่ในศูนย์ฝึกฯ ภาพรวมจัดอยู่ในระดับปานกลาง
ผลการวิจัยการเผชิญ ความเครียด ของเยาวชน ผลการวิจัยการเผชิญ ความเครียด ของเยาวชน
1.การเผชิญความเครียดแบบจัดการ กับปัญหา การเผชิญความเครียดแบบ เผชิญหน้ากับปัญหา พบว่า การ ควบคุมอารมณ์เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึง ประสงค์ จัดอยู่ในระดับต่ำ การเผชิญความเครียดแบบวางแผน แก้ปัญหา พบว่า การพยายามแยกแยะปัญหาและการ จัดการแก้ไขปัญหาทีละเรื่อง จัดอยู่ใน ระดับต่ำ
2.การเผชิญความเครียดแบบเน้นการ จัดการกับอารมณ์ การเผชิญความเครียดแบบการรับผิดชอบต่อ ปัญหา โดยภาพรวมอยู่ในระดับต่ำ การเผชิญความเครียดแบบการควบคุมตนเองและ การเผชิญความเครียดแบบการถอยห่าง โดยภาพรวมอยู่ในระดับต่ำสุด การเผชิญความเครียดแบบประเมินค่าใหม่ทางบวก การเผชิญความเครียดแบบแสวงหาเกื้อหนุนทาง สังคม การเผชิญความเครียดแบบการหนีหลีกเลี่ยงปัญหา
ผลการวิจัยการ เปรียบเทียบ ความเครียดและ การเผชิญความเครียด ของเยาวชน ผลการวิจัยการ เปรียบเทียบ ความเครียดและ การเผชิญความเครียด ของเยาวชน
จากปัจจัยด้าน อายุ การศึกษาสูงสุด รายได้ของบิดา มารดา อาชีพของบิดา มารดา การศึกษาของบิดา มารดา ฐาน ความผิดระยะเวลาที่เข้ามาอยู่ในสถานพินิจ และปัจจัยด้านความเครียด มีความสัมพันธ์กับระดับความเครียด ของเด็กและเยาวชนในสถานพินิจ จังหวัด สงขลา จากปัจจัยด้าน อายุ การศึกษาสูงสุด รายได้ การศึกษา อาชีพของบิดา มารดา ฐานความผิดของเยาวชน ระยะเวลาที่เข้า มาอยู่ในศูนย์ฝึกฯ และปัจจัยด้าน ความเครียด มีความสัมพันธ์กับการเผชิญ ความเครียดของเด็กและเยาวชนในสถาน พินิจ จังหวัดสงขลา
ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย
1) เจ้าหน้าที่จะต้องสร้างให้ศูนย์แห่งนี้ เป็นบ้านหลังใหม่ที่ มีบรรยากาศความรัก ความห่วงใยซึ่งกัน และกัน และที่สำคัญ คือ ด้านความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2) เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจะต้องใช้ นักจิตวิทยาที่เชี่ยวชาญสูง เพื่อเข้ามาลด ความหวาดกลัวและสร้างกำลังใจให้กับกลุ่ม เยาวชน 3) ผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องจัดทรัพยากร สนับสนุนให้มากที่สุด ตั้งแต่ การให้ โอกาสฝึกอาชีพ วัสดุ อุปกรณ์ และ ความรู้เชิงวิชาการต่าง ๆ
ขอบคุณครับ