นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา กฎหมายพาณิชย์
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
นางลัดดาวรรณ คงพูล อาจารย์ประจำสาขาวิชาสามัญและพื้นฐาน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ของนักเรียน ปวช.1 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ.
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี

ชื่อเรื่องวิจัย: พัฒนาการของการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อผู้วิจัย นางศศิธร บุญภูมิ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
วิธีการสอนแบบกระบวนการเสนอ ด้วยข้อมูลมีความแตกต่าง โดย นางสาวธนภรณ์ นาวินวิจิต วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (M-BAC)
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 และความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักศึกษาแผนกการบัญชีระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อัตราส่วนตรีโกณมิติ ที่เรียนด้วยการสอนแบบ STAD และการเรียนรู้เป็นรายบุคคล ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
โดย นางสาวพัชรินทร์ แสงเงิน วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยมือตัดชิ้นงาน โดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ 1 ของนักเรียนช่างยนต์ สาขางานยานยนต์ ชั้นปีที่ 1 คณะช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีต้นทุน 2 ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 เรื่องการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต ที่ได้รับการสอนแบบใช้ชุดแบบฝึกทักษะ นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

ปัญหาการวิจัย นักเรียนไม่สามารถเข้าใจขั้นตอนการจัดทำบัญชีต้นทุนได้จึงทำให้นักเรียนสอบ ไม่ผ่านจากการเรียนในภาคเรียนปกติ เมื่อนักเรียนจำนวน 23 คน ต้องมาเรียน ในภาคฤดูร้อนจึงต้องมีรูปแบบในการสอนที่แตกต่างเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนให้สูงขึ้น ดังนั้นผู้วิจัยศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีต้นทุน 2 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 เรื่องการบัญชีต้นทุน ช่วงการผลิต ที่ได้รับการสอนแบบใช้ชุดแบบฝึกทักษะ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีต้นทุน2 ของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 เรื่องบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต ที่ได้รับการสอนแบบใช้ชุดแบบฝึกทักษะ

สมมติฐานของการวิจัย นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีต้นทุน2 สูงขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 ที่กำลังศึกษาภาคฤดูร้อนปีการศึกษา 2555 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย จำนวนนักเรียน 23 คน

ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น คือ วิธีสอนแบบใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ตัวแปรต้น คือ วิธีสอนแบบใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีต้นทุน2

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องบัญชีต้นทุนช่วงการผลิตอัตนัย 1 ข้อ ชุดแบบฝึกทักษะ 5 ชุด

ตารางที่ 1 แสดงคะแนนก่อนเรียน และคะแนนหลังเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ตารางที่ 1 แสดงคะแนนก่อนเรียน และคะแนนหลังเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ คนที่ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน 1 24 26 2 19 30 3 17 23 4 18 5 20 6 13 22 7 25 8 15 9 11 21 10 12 14 27 16 29 28 คะแนนเฉลี่ย 15.91 23.83 จากตารางที่1 พบว่าคะแนนก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 15.91 คะแนนโดยคะแนนอยู่ระหว่าง 5 ถึง 24 คะแนน ส่วนคะแนนหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 23.83 คะแนนโดยคะแนนอยู่ระหว่าง 16 ถึง 30 คะแนน

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน และ คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ก่อนเรียน หลังเรียน t sig คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10.88 0.00 15.91 4.52 23.83 4.34 จากตารางที่ 2 พบว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะได้คะแนนเฉลี่ย 23.83 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.34 คะแนน มากกว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนก่อนเรียน 15.91 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.52 คะแนนซึ่งคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00

สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัย พบว่า คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ได้คะแนนเฉลี่ย 23.83 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.34 คะแนน มากกว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนก่อนเรียน 15.91 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 4.52 คะแนนซึ่งคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00