นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีต้นทุน 2 ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 เรื่องการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต ที่ได้รับการสอนแบบใช้ชุดแบบฝึกทักษะ นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ปัญหาการวิจัย นักเรียนไม่สามารถเข้าใจขั้นตอนการจัดทำบัญชีต้นทุนได้จึงทำให้นักเรียนสอบ ไม่ผ่านจากการเรียนในภาคเรียนปกติ เมื่อนักเรียนจำนวน 23 คน ต้องมาเรียน ในภาคฤดูร้อนจึงต้องมีรูปแบบในการสอนที่แตกต่างเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนให้สูงขึ้น ดังนั้นผู้วิจัยศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีต้นทุน 2 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 เรื่องการบัญชีต้นทุน ช่วงการผลิต ที่ได้รับการสอนแบบใช้ชุดแบบฝึกทักษะ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีต้นทุน2 ของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 เรื่องบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต ที่ได้รับการสอนแบบใช้ชุดแบบฝึกทักษะ
สมมติฐานของการวิจัย นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีต้นทุน2 สูงขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 ที่กำลังศึกษาภาคฤดูร้อนปีการศึกษา 2555 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย จำนวนนักเรียน 23 คน
ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น คือ วิธีสอนแบบใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ตัวแปรต้น คือ วิธีสอนแบบใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีต้นทุน2
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องบัญชีต้นทุนช่วงการผลิตอัตนัย 1 ข้อ ชุดแบบฝึกทักษะ 5 ชุด
ตารางที่ 1 แสดงคะแนนก่อนเรียน และคะแนนหลังเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ตารางที่ 1 แสดงคะแนนก่อนเรียน และคะแนนหลังเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ คนที่ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน 1 24 26 2 19 30 3 17 23 4 18 5 20 6 13 22 7 25 8 15 9 11 21 10 12 14 27 16 29 28 คะแนนเฉลี่ย 15.91 23.83 จากตารางที่1 พบว่าคะแนนก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 15.91 คะแนนโดยคะแนนอยู่ระหว่าง 5 ถึง 24 คะแนน ส่วนคะแนนหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 23.83 คะแนนโดยคะแนนอยู่ระหว่าง 16 ถึง 30 คะแนน
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน และ คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ก่อนเรียน หลังเรียน t sig คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10.88 0.00 15.91 4.52 23.83 4.34 จากตารางที่ 2 พบว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะได้คะแนนเฉลี่ย 23.83 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.34 คะแนน มากกว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนก่อนเรียน 15.91 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.52 คะแนนซึ่งคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00
สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัย พบว่า คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ ได้คะแนนเฉลี่ย 23.83 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.34 คะแนน มากกว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนก่อนเรียน 15.91 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 4.52 คะแนนซึ่งคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00