การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา กฎหมายพาณิชย์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)

ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
โดย ครูวินิญากรณ์ วัตรสติ
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง

อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1ห้อง 103 รายวิชาวิถีธรรมวิถีไทย ฉัตรชัย เมืองทอง ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ

ปัญหาการวิจัย เมื่อให้ผู้เรียนจัดกลุ่ม มักจะเลือกอยู่กลุ่มเดียวกับเพื่อนที่สนิทเท่านั้น ผู้เรียนขาดการปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนคนอื่นๆ ในห้องเรียน ผลสัมฤธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ที่พึงพอใจ ( อ้างอิงจากการประเมินผลการเรียนและการสังเกตพฤติกรรม ของผู้เรียนรายวิชาวิถีธรรมวิถีไทย ปีการศึกษา 2555)

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ห้อง 103 รายวิชาวิถีธรรมวิถีไทย 2. เพื่อพัฒนาความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ห้อง 103 รายวิชาวิถีธรรมวิถีไทย

ระเบียบวิธีวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาชั้นปวช.1ห้อง 103 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 1 ห้องเรียน รวมนักเรียน 40 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (SimpleRandom Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. เครื่องมือที่ใช้ประกอบการสอน ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง วันสำคัญทางศาสนา ที่ใช้วิธีเรียนแบบร่วมมือ รวมจำนวน 16 ชั่วโมง 2. เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง วันสำคัญทางศาสนา และ แบบประเมินการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนของนักศึกษา แบบ สัมภาษณ์ และแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่มในการทำงานเป็นกลุ่ม

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิถีธรรมวิถีไทย เรื่อง วันสำคัญทางศาสนา ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ของนักศึกษา ปวช. ชั้น ปีที่ 1 ห้อง 103

สมมติฐานของการวิจัย 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาวิถีธรรมวิถีไทย เรื่อง วันสำคัญทางศาสนาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2. ผู้เรียนมีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับ ดีมาก

สรุปผลการวิจัย N การประเมินผล t ก่อนเรียน 40 14.58 396 4,094 29.69** ตารางที่ 1 สรุปเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาหลังการใช้ การจัดการเรียนรู้ เรื่อง วันสำคัญทางศาสนา ที่ใช้วิธีเรียนแบบร่วมมือ การประเมินผล N t ก่อนเรียน 40 14.58 396 4,094 29.69** หลังเรียน 24.48 **มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

การยอมรับความคิดเห็น สรุปผลการวิจัย ตารางที่ 2 ผลการประเมินตนเอง และความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม คะแนน การมีส่วนร่วม (5 คะแนน) ความรับผิดชอบ การแสดง ความคิดเห็น ( 5 คะแนน) การยอมรับความคิดเห็น รวมคะแนน (20 คะแนน) SD ก่อนเรียน 4.69 0.82 4.60 0.84 4.70 0.75 4.67 18.65 3.09 หลังเรียน 4.99 4.26 4.96 9.00 4.97 5.88 5.16 19.91 19.47

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป ครูผู้สอนควรอธิบายขั้นตอนต่างๆ ในการจัดการเรียนแบบร่วมมือให้ชัดเจน ก่อนให้นักศึกษาลงมือทำ เพื่อนักศึกษาจะได้วางแผนการทำงานในกลุ่ม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้สอนควรควบคุมการจัดการเรียนการสอนให้อยู่ในเวลาที่กำหนด ผู้สอนควรกระตุ้นให้นักศึกษา ศึกษาค้นคว้าเนื้อหามาก่อนล่วงหน้า เพื่อที่จะทำความเข้าใจเนื้อหาที่เรียนในห้องได้ง่ายขึ้น