แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
วิสัยทัศน์และพันธกิจ “บูรณาการด้านวิชาการในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน ที่ได้รับการยอมรับจากเครือข่ายและประชาชน” พันธกิจ 1. สร้างองค์ความรู้ด้านวิชาการและปฏิบัติการ 2. สื่อสารความเสี่ยงและพฤติกรรมสุขภาพ 3. บริหารจัดการและขับเคลื่อน 4. สื่อสารความเสี่ยงและพฤติกรรมสุขภาพ 5. ติดตามและประเมินผล
ยุทธศาสตร์ 1. บูรณาการเครือข่ายด้านวิชาการและปฏิบัติการ 2. พัฒนาวิชาการและการจัดการความรู้ด้านโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน เพื่อให้เป็นศูนย์กลางด้านการป้องกันควบคุมโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน 3. สื่อสารความเสี่ยงเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน 4. พัฒนาระบบเฝ้าระวังและฐานข้อมูลโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน 5. ติดตามและประเมินผลการป้องกันควบคุมโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนให้ได้มาตรฐาน
โรคพิษสุนัขบ้า เป้าหมายการลดโรค : ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ทุก อปท. มีโครงการสร้างพื้นที่ปลอดโรค
โรคเลปโตสไปโรสิส
สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรสิส 10 จังหวัดแรกที่พบอัตราป่วยสูงสุด ตั้งแต่ปี 2546-2556 1 ศรีสะเกษ 2 สุรินทร์ 3 บุรีรัมย์ 4 ขอนแก่น 5 กาฬสินธุ์ พังงา 6 เลย 7 ระนอง 8 น่าน 9 ร้อยเอ็ด 10 หนองคาย เป้าหมายการลดโรค : ลดอัตราป่วยตายให้น้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
1. การบริหารจัดการบูรณาการเครือข่ายในการ ป้องกัน โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน 1. ประชุมบูรณาแผนงานและการแก้ปัญหา ที่มีผลต่อการสร้างพื้นที่ปลอดโรคของเครือข่าย 2. การประชุมเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าของเครือข่ายในพื้นที่เสี่ยง ปี 2558 3. การติดตาม ประสาน งานเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าเชิงรุก ในพื้นที่เสี่ยง 4. ประสานความร่วมมือของเครือข่ายระดับภูมิภาค (สคร.,ปศข.) ในการประชุม และติดตามเร่งรัดการดำเนินงานสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าของท้องถิ่น 5. ประชุมคณะกรรมการชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย 3.Zoo ติดตามประสาน การดำเนิน สคร. 22 จังหวัดในพื้นที่เสี่ยง
2.พัฒนาวิชาการ 1. ประชุมคณะผู้เชี่ยวชาญด้านโรคเลปโตสไปโรสิสในพื้นที่เสี่ยง 2. ประชุมวิชาการโรคเลปโตสไปโรสิส ประจำปี 2558 3. จากแผนสู่การปฏิบัติ โรคพิษสุนัขบ้า (TUC)
3. การป้องกัน ควบคุมโรคในคน 1. สร้างความตระหนักในประชาชนในการป้องกันหลังถูกสุนัขกัด โดยการสื่อสารประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึง 2. ติดตามผู้สัมผัสโรค/ผู้ถูกสุนัขกัด ให้มารับการฉีดวัคซีนตามแนวทางการติดตามของสำนักโรคติดต่อทั่วไป โดยเครือข่าย 3. ติดตาม เร่งรัดการใช้ระบบรายงาน ร36 การสร้างความตระหนัก
กลุ่มเป้าหมายและเครือข่าย เครือข่ายดำเนินการ สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รพศ./รพท./รพช. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ กรมควบคุมโรค : สำนักโรคติดต่อทั่วไป, สำนักระบาดวิทยา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมปศุสัตว์ : สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ สำนักงานปศุสัตว์เขต 1-9 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น , สถานเสาวภา สภากาชาดไทย, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร , ทบวงมหาวิทยาลัย, ศูนย์ปฏิบัติการโรคทางสมอง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Thank you