นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู www.mbk.ac.th วิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเลขยกกำลังของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. 1 สาขางานเทคนิคยานยนต์ โดยให้นักศึกษาสรุปบทเรียนด้วยการทำบทเรียนสำเร็จรูป วิชา คณิตศาสตร์ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ปีการศึกษา 2556 นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู www.mbk.ac.th
ปัญหาการวิจัย เนื่องจากหลังจากเรียนจบในแต่ละคาบ นักศึกษาไม่สามารถสรุปเนื้อหาที่เรียนได้ ขาดทักษะด้านการคิด การเขียน ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการจัดการเรียนการสอนที่เกิดผลสัมฤทธิ์สูง เพื่อให้นักศึกษามีความกระตือรือร้นในการเรียน
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการสรุปเนื้อหา ยกตัวอย่าง ตั้งใจแก้ปัญหาและตอบปัญหาเรื่องเลขยกกำลัง 2.เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเลขยกกำลัง ของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขางานเทคนิคยานยนต์
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
จากตาราง พบว่า คะแนนทดสอบสอบก่อนเรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส จากตาราง พบว่า คะแนนทดสอบสอบก่อนเรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 มีค่าเฉลี่ย3.3235 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.1561 ส่วนหลังทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย 5.4706 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.6844 ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนมีค่า ∑ D = 73 และ ∑ D2 = 241
ผลการวิเคราะห์คะแนนทดสอบก่อนเรียนและการทดสอบหลังเรียน การประเมินผล N ∑ D ∑ D2 T-test ทดสอบก่อนเรียน 34 73 241 4.2908** ทอสอบหลังเรียน จากตารางแสดงความแตกต่างของคะแนนการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย T-test พบว่า T= 4.2908 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 กล่าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 99 %
สรุปผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทอสอบก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 2 เรื่องเลขยกกำลัง ของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขางานยานยนต์ พบว่าการทดสอบก่อนเรียนและการทกสอบหลังเรียนมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.1 นอกจากนี้ยังพบว่าการทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย 3.3235 ในการทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย 5.4706 จากค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานหลังเรียน ได้ตรวจสอบประสิทธิภาพการสอนของครูด้วยค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย (C.V.) = 34.79% ซึ่งต้องปรับปรุงประสิทธิภาพทางการสอนอาจต้องลดจำนวนนักศึกษาเพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพและสามารถควบคุมได้มากกว่านี้ ความแตกต่างของคะแนนการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย T-test พบว่า T= 4.2908 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 กล่าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 99 %
จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ