ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในรายวิชา การบัญชีตั๋วเงินของ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยี พณิชยการเชียงใหม่
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง

นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน งานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน ในรายวิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อม ของนักศึกษา ปวช.2 แผนกช่างยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยี ผู้วิจัย นางสาวปิยะกาญจน์ วงศ์ซื่อ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จ.เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อม (รหัสวิชา 2001-0008)ในระดับชั้นปวช. 2 แผนกช่างยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร ข้าพเจ้าได้จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการสอนแบบบรรยายและสาธิต โดยใช้เอกสารตำราเรียนซึ่งได้จัดหาให้ตรงตามความต้องการของอาจารย์ผู้สอนในรายวิชานั้นๆ แต่เนื่องจากเอกสารตำราเรียนที่ใช้ในการสอนจะเน้นด้านทฤษฏีมากกว่าเน้นการปฏิบัติจริง จึงทำให้นักเรียน นักศึกษา เกิดความเบื่อหน่ายในการเรียนจากเอกสารตำราเรียน เพราะเอกสารตำราเรียนมีเพียงภาพประกอบและตัวอักษรเท่านั้น จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้นักเรียน นักศึกษา ไม่ให้ความสนใจเท่าที่ควร อีกทั้งในภาคเรียนที่ 2/2556 นี้ยังมีวันหยุดนักขัตฤกษ์บ่อย จนทำให้นักศึกษาห้อง ชย-201,202 ซึ่งเรียนร่วมกันไม่ได้เรียน มีเวลาเรียนไม่เพียงพอ และยังส่งผลกระทบไปถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน นักศึกษาทำให้นักเรียนนักศึกษา มีผลการเรียนที่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอีกด้วย

จากสภาพการเรียนการสอนและปัญหาดังกล่าวข้างต้นทำให้ผู้วิจัย สนใจที่จะพัฒนาวิธีการสอนขึ้นมาเสริม เพื่อช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ให้กับนักเรียน นักศึกษาและเพื่อให้นักเรียน นักศึกษาได้พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยผู้วิจัยได้ทำการผลิต สื่อประเภทวิดีโอขึ้นมาใช้สนับสนุนในการเรียนการสอน และเพื่อศึกษาดูว่าสื่อการเรียนการสอน ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมานี้จะสามารถช่วยในเรื่องของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน นักศึกษา เพราะสื่อการเรียนการสอนที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นมานี้ ประกอบด้วยภาพเคลื่อนไหว และเสียงประกอบ ซึ่งการใช้สื่อการสอนประเภทวิดีโอนี้เปรียบเสมือนการสอนจริง และนักเรียน นักศึกษาสามารถที่จะปฏิบัติได้จริง ตามเนื้อหาที่เรียน และจะช่วยสอนเสริมในส่วนของนักเรียน นักศึกษาที่ไม่เข้าเรียนในรายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อมได้

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาสื่อวิดีโอการเรียนการสอนรายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม เรื่อง พลังงานทดแทน สำหรับนักเรียนชั้น ปวช.2 แผนกช่างยนต์ ภาคเรียนที่ 2/2556 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน นักศึกษา รายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม เรื่อง พลังงานทดแทน สำหรับนักเรียนชั้น ปวช.2 แผนกช่างยนต์ ภาคเรียนที่ 2/2556 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษาที่มีต่อสื่อวิดีโอการเรียนการสอนที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น รายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม พลังงานทดแทน ระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างยนต์ ภาคเรียนที่ 2/2556 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร

กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย การศึกษาสื่อการเรียนการสอนรายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม เรื่องพลังงานทดแทน การเรียนรู้ ด้วยตนเอง (SDL) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อมเรื่องพลังงานทดแทน   ผลความพึงพอใจของนักศึกษา ต่อสื่อการเรียนการสอนรายวิชา พลังงานและ เรื่อง พลังงานทดแทน

ตารางแสดงการวิเคราะห์ข้อมูล   N Mean S.D. ผลต่างของค่าเฉลี่ย t df Sig 1 tailed ชอ-201,202 30 6.90 0.84 -0.57 -2.230 58 0.015 ชย-201,202 7.47 1.11 จากตาราง พบว่า การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยทั้งสองกลุ่มของผู้เรียน ห้องชอ-201,202 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 6.90คะแนนห้องชย-201,202มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 7.47คะแนน เมื่อเปรียบเทียบแล้วมีความแตกต่างกันเท่ากับ -0.57คะแนนดังนั้นจากการทดสอบสถิติ t-test พบว่า ค่าเฉลี่ยระหว่างผู้เรียนห้องชย201,202 กับห้อง ชอ-201,202 สูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

หมายเหตุ: จากผู้ประเมินทั้งหมด 30 คน   รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 4 3 2 1 ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง N คน. สื่อมีความน่าสนใจ 22 110 6 24 - สื่อช่วยให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น 28 140 8 สามารถช่วยในการเรียนการสอนได้ 25 125 20 สามารถนาสื่อไปเผยแพร่ให้กับผู้ที่สนใจ 21 105 9 36 ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อสื่อการสอน 26 130 16 คะแนนเต็มและคะแนนที่ได้จาการประเมิน 610 104 คะแนนเต็มทั้งหมด 2250 720/2250 = 0.32x15 =4.80 สรุปความพึงพอใจที่ได้คือ 4.80 คิดเป็นร้อยละ 96 หมายเหตุ: จากผู้ประเมินทั้งหมด 30 คน

สรุปผลการวิจัย 1. มีการพัฒนาสื่อวิดีโอการเรียนการสอนรายวิชา พลังงานและ เรื่อง พลังงานทดแทน เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนชั้น ปวช.2 แผนกช่างยนต์ ภาคเรียนที่ 2/2556 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร 2. จากการเรียนการสอนแบบใช้สื่อการสอนวิดีโอรายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม เรื่อง พลังงานทดแทนแล้วส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน นักศึกษา ดังนี้ นักเรียน นักศึกษา ชั้น ปวช.2 ห้องชย-201,202 ที่ไม่มีเรียนเพราะมีวันหยุดบ่อย มีค่าเท่ากับ 7.47 คะแนน กับ ห้อง ชอ-201,202 ที่เรียนในห้องเรียนปกติ มีค่าเท่ากับ 6.90คะแนน เมื่อเปรียบเทียบแล้วมีความแตกต่างกันเท่ากับ -0.57 คะแนน ดังนั้นค่าเฉลี่ยระหว่างผู้เรียนห้องชย-201,202 กับห้องชอ-201,202 สูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. นักเรียน นักศึกษามีความพึงพอใจต่อสื่อวิดีโอการเรียนการสอนที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น รายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม เรื่อง พลังงานทดแทน ระดับชั้น ปวช.2 ร้อยละ 96 ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับ ดีมาก