ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อการบริหารงานของ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายบุคลากร โรงเรียนแลมป์ - เทค ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัย สำรวจความพึงพอใจ กับผู้ใต้บังคับบัญชา จำนวน 19 คน สถิติที่ ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน วัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมผู้ใต้บัญชามี ความพึงพอใจต่อการ บริหารงานของผู้ช่วย ผู้อำนวยการฝ่ายบุคลากรใน ระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.45 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.79 และทุก ประเด็นได้รับความพึงพอใจ ในระดับมากถึงมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เป็นที่ยอมรับของ บุคคลภายนอก ได้รับความ พึงพอใจสูงสุด มีค่าเฉลี่ย คือ 4.84 รองลงมาคือ มี จรรยาบรรณที่ดี มีค่าเฉลี่ย 4.79 นั่นหมายความว่า ดร. จินดารัตน์ มงคลเจริญ สุข มีบริหารงานอย่างเป็น ระบบ และเป็น ประชาธิปไตย และได้รับ การยอมรับจากในและนอก องค์กร ผู้วิจัย : ดร. จินดารัตน์ มงคลเจริญสุข ปีการศึกษา : 2550 เพื่อศึกษาความพึง พอใจของ ผู้ใต้บังคับบัญชาต่อ การบริหารงาน ของผู้ช่วยผู้อำนวยการ ฝ่ายบุคลากร
ความพึงพอใจของบุคลากรฝ่ายบุคคลต่อการบริหารงานของ หัวหน้างาน โรงเรียนแลมป์ - เทค ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัย สำรวจความพึงพอใจ กับบุคลากรฝ่ายบุคคล จำนวน 4 คน สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน วัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมบุคลากรใน ฝ่ายบุคคลมีความพึงพอใจ ต่อการบริหารงานของ หัวหน้างานในระดับมาก มี ค่าเฉลี่ย 4.0 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.79 และเมื่อพิจารณาเป็นราย ข้อพบว่า การสร้างขวัญ และกำลังใจและลักษณะ การทำงานแบบมีส่วนร่วม ได้รับความพึงพอใจสูงสุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากันคือ 4.75 ส่วนประเด็นที่ได้รับความ พึงพอใจในระดับปานกลาง คือ การวางแผนงาน การดำเนินงาน การติดตาม งาน และการพัฒนา ปรับปรุงงาน มีค่าเฉลี่ย เท่ากันคือ 3.25 นั่น หมายความว่า ประเด็นที่ ควรพัฒนา คือ การ บริหารงานอย่างเป็นระบบ มากยิ่งขึ้น ผู้วิจัย : ดร. จินดารัตน์ มงคลเจริญสุข ปีการศึกษา : 2550 เพื่อศึกษาความพึง พอใจของ บุคลากรฝ่ายบุคคลต่อ การ บริหารงานของหัวหน้า งาน
ความพึงพอใจของบุคลากรฝ่ายสารสนเทศต่อการ บริหารงานของหัวหน้างาน โรงเรียนแลมป์ - เทค ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัย สำรวจความพึงพอใจ กับบุคลากรฝ่าย สารสนเทศ จำนวน 4 คน สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน วัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมบุคลากร ฝ่ายสารสนเทศ มีความพึงพอใจต่อการ บริหารงานของ หัวหน้างานในระดับมาก มี ค่าเฉลี่ย 4.40 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57 และทุกประเด็นได้รับ ความพึงพอใจในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การให้คำแนะนำ ความรับผิดชอบ เป็นที่ ยอมรับของบุคคลภายนอก และการสร้างขวัญกำลังใจ ได้รับความพึงพอใจสูงสุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากันคือ 4.75 นั่นหมายความว่า หัวหน้างานสารสนเทศมี ภาวะผู้นำ มีกระบวนการ บริหารงานที่มีประสิทธิภาพ และเป็นประชาธิปไตย และเป็นที่ยอมรับทั้งในและ นอกองค์กร ผู้วิจัย : ดร. จินดารัตน์ มงคลเจริญสุข ปีการศึกษา : 2550 เพื่อศึกษาความพึง พอใจของ บุคลากรฝ่าย สารสนเทศต่อ การบริหารงานของ หัวหน้างาน
ความพึงพอใจของบุคลากรคณะวิชาบริหารธุรกิจต่อการ บริหารงานของหัวหน้าคณะวิชา โรงเรียนแลมป์ - เทค ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัย สำรวจความพึงพอใจ กับคณะครู จำนวน 11 คน สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน วัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมบุคลากรใน คณะวิชาบริหารธุรกิจมี ความพึงพอใจต่อการ บริหารงานของหัวหน้าคณะ วิชาในระดับมากที่สุด มี ค่าเฉลี่ย 4.61 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.54 และทุกประเด็นได้รับ ความพึงพอใจในระดับมาก ถึงมากที่สุด เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อพบว่า เป็นที่ ยอมรับนอกองค์กร และมี จรรยาบรรณที่ดี ได้รับ ความพึงพอใจสูงสุด มี ค่าเฉลี่ยเท่ากันคือ 5.00 นั่นหมายความว่า หัวหน้าคณะวิชา บริหารธุรกิจมีภาวะผู้นำสูง มีกระบวนการบริหารงาน อย่างเป็นระบบ และเป็น ประชาธิปไตย และเป็นที่ ยอมรับของบุคคลภายใน และภายนอกองค์กร ผู้วิจัย : ดร. จินดารัตน์ มงคลเจริญสุข ปีการศึกษา : 2550 เพื่อศึกษาความพึง พอใจของ บุคลากรคณะวิชา บริหารธุรกิจ ต่อการบริหารงานของ หัวหน้า คณะวิชา