ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ www.utt.ac.th.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การประเมินผลในวิจัยชั้นเรียน
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ความพึงพอใจของผู้ประกอบการและ หัวหน้าหน่วยงานรัฐบาลต่อผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอุตรดิตถ์เทคโนโลยี นางรัตดา บัวใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
ผู้วิจัย อาจารย์พิศมัย เดชคำรณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
กิจกรรมของสถาบัน ภาษาอังกฤษ ร่วมกับ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ได้เข้าร่วม โครงการ “ โครงการระบบดี โรงเรียนมี คุณภาพ ” (Healthy Systems Healthy School) ซึ่งสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ ได้ดำเนินการขยายเครือข่าย การพัฒนา โรงเรียนเชิงระบบ เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้และ คุณภาพการศึกษาร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษา ต่าง ๆ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ( สสส.) และวิทยาลัยฯได้จัดตั้งทีมพัฒนางาน ที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรใน วิทยาลัย ทุกท่านและจัดทำเป็นคู่มือระบบ เพื่อเป็นแนวทางในการนำไปสู่การปฏิบัติจริง ตามกระบวนการ วิธีการ ขั้นตอน ของครูผู้สอน ทุกท่าน เพื่อให้เกิดเป็นระบบที่มีคุณภาพ ความเป็นมา

เพื่อศึกษาผลการประเมิน การดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 วัตถุประสงค์

การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ ศึกษาเอกสารได้แก่ ระบบ เรียนรู้ ของวิทยาลัยเทคโนโลยี อุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 และสรุปผลระบบเรียนรู้ ของวิทยาลัยเทคโนโลยี อุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล

ผู้ศึกษาดำเนินการรวบรวมข้อมูลจาก เอกสาร ได้แก่ ระบบเรียนรู้ของวิทยาลัย เทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 และสรุปผล ระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปี การศึกษา 2552 – 2554 การเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ (Percentage) และ การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

ด้าน จำนวน ตัวชี้วัด ทั้งหมด จำนวนตัวชี้วัดที่ บรรลุ เป้าหมายทั้ง 3 ปี ร้อยละ 1. ผลการประเมินด้าน การศึกษา / วิเคราะห์ / พัฒนา หลักสูตรรายวิชา ผลการประเมินด้านการ วิเคราะห์ผู้เรียน ผลการประเมินด้านการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ

ด้าน จำนวน ตัวชี้วัด ทั้งหมด จำนวน ตัวชี้วัดที่ บรรลุ เป้าหมายทั้ง 3 ปี ร้อยละ 4. ผลการประเมินผล การเรียนรู้ ผลการประเมินด้าน การรายงานการวัดผล และประเมินผล รวมผลการประเมิน การวิเคราะห์ข้อมูล สำคัญ ( ต่อ )

ผลการประเมินระบบเรียนรู้ในภาพรวม ของระบบเรียนรู้ ปีการศึกษา 2552 – 2554 โดยภาพรวม คิดเป็นร้อยละ และมีตัวชี้วัดที่บรรลุเป้าหมายที่กำหนด ครบทั้ง 3 ปี ทุกตัวชี้วัด มี 2 ด้านได้แก่ 1. ผลการประเมินด้านการศึกษา / วิเคราะห์ / พัฒนาหลักสูตรรายวิชา 2. ผลการ ประเมินด้านการรายงานการวัดผล ส่วน ด้านที่ตัวชี้วัดไม่บรรลุตามเป้าหมายที่ กำหนด มี 3 ด้านได้แก่ 1. ผลการประเมิน ด้านการวิเคราะห์ผู้เรียน 2. ผลการ ประเมินด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. ผลการประเมินผลการเรียนรู้ สรุปผลการวิจัย

ข้อเสน อแนะ 1. ควรให้มีการประเมินด้านคุณภาพของงานวิจัย และนวัตกรรมของครูผู้สอน โดยการกำหนดเกณฑ์ เป็นตัวชี้วัดคุณภาพเพื่อทำให้ทราบถึงคุณภาพของ ชิ้นงานวิจัย 2. มีการจัดอบรมให้ความรู้กับครูผู้สอนทุกท่าน เกี่ยวกับการทำตารางวิเคราะห์ข้อสอบที่เป็น ข้อสอบมาตรฐาน 3. นำผลที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ไปใช้ในการพัฒนา งานระบบเรียนรู้ของวิทยาลัยฯต่อไป ข้อเสนอแนะเพื่อการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. การวิเคราะห์คุณภาพของข้อสอบเพื่อจัดทำ คลังข้อสอบ 2. การพัฒนาระบบคลังข้อสอบ

ขอขอบคุณ