Eastern College of Technology (E.TECH) การศึกษาวุฒิภาวะทางอาชีพ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) Eastern College of Technology (E.TECH)
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาลักษณะวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ ที่น่าจะส่งผลต่อวุฒิภาวะทางอาชีพ เพื่อเปรียบเทียบระดับวุฒิภาวะทางอาชีพระหว่าง นักเรียนพณิชยการ และนักเรียนช่างอุตสาหกรรม
กรอบแนวคิดในการวิจัย เพศ สาขาวิชา เกรดเฉลี่ยสะสม การศึกษาของบิดา มารดา อาชีพของบิดา มารดา รายได้ผู้ปกครอง การอบรมเลี้ยงดู การเลือกศึกษาต่อ วุฒิภาวะทางอาชีพ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2553 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) จำนวน 1,532 คน นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2553 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) จำนวน 400 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบวัดวุฒิภาวะทางอาชีพ จำนวน 50 ข้อ แบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับนักเรียน ตอนที่ 2 แบบวัดวุฒิภาวะทางอาชีพ
สรุปผลการวิจัย นักเรียนสาขาพณิชยการ เลือกศึกษาต่อในอาชีวศึกษา มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 49.5 และสาขาช่างอุตสาหกรรม เลือกศึกษาต่อในอาชีวศึกษา มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 84.0 ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับวุฒิภาวะทางอาชีพ ได้แก่ เพศ การศึกษาของบิดา การศึกษาของมารดา และ อาชีพของบิดา ตัวแปรที่ไม่มีความสัมพันธ์กับวุฒิภาวะทางอาชีพ ได้แก่ สาขาวิชา เกรดเฉลี่ยสะสม อาชีพของมารดา รายได้ผู้ปกครอง การอบรมเลี้ยงดู และการเลือกศึกษาต่อ
ผลกระทบที่เกิดขึ้น ทราบว่ามีปัจจัยใดบ้างที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิด วุฒิภาวะทางอาชีพ ใช้ประโยชน์ในการแก้ไขข้อบกพร่องของนักเรียน ในการเลือกศึกษาต่อ ใช้เป็นข้อมูลในการปลูกฝัง เสริมสร้าง และแก้ไข ให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีวุฒิภาวะทางอาชีพสูง
ข้อเสนอแนะการวิจัย ควรมีการทำวิจัยศึกษากลุ่มตัวอย่างในระดับ ปวส.2 ควรศึกษาทางด้านการอบรมโปรแกรมทางอาชีพกับ วุฒิภาวะทางอาชีพ เพื่อใช้วัดพัฒนาการของวุฒิภาวะ ทางอาชีพ