นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
Advertisements

ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นายอธิชาติ ไชยาแจ่ม
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง พัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส นักเรียนระดับ ปวช.1
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
นางสาวอรุณรุ่ง สุวรรณโชติ
ชื่อเรื่องงานวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์เพื่อเขียน โปรแกรม Microsoft Visual Basic ชื่อเรื่อง + ชื่อผู้วิจัย + สังกัดวิทยาลัย.
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อผู้วิจัย นางปราณี แจ่มสาคร
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะ การบัญชีชั้นกลาง 2 สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.1) วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย

ปัญหาการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ ได้เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาการบัญชี และได้บรรจุรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 ไว้ในหลักสูตร รับผู้สำเร็จการศึกษา ระดับ ปวช. และ ม. 6 เนื่องผู้เรียนมีจำนวนน้อย จึงได้จัดให้เรียนห้องเดียวกัน ทำให้เกิดปัญหาดังนี้ 1. นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ระดับชั้น ม. 6 ไม่มีพื้นฐานการเรียนวิชาการบัญชีทำให้เข้าใจยาก ไม่มีพื้นฐานในการเรียนวิชาบัญชี เนื่องจากผู้ที่จะเรียนวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 ได้ต้องมีความรู้พื้นฐานในวิชาบัญชีพื้นฐานมาก่อนจึงจะเรียนได้เข้าใจ

2. แบบฝึกทักษะในหลักสูตรที่ใช้สอน ตัวอย่างซับซ้อนทำให้เข้าใจยาก สื่อการสอนไม่เหมาะสม เป็นสาเหตุให้นักศึกษาไม่สนใจการเรียน แบบฝึกทักษะส่วนมากจะเป็นแบบนำเสนอข้อความและคำถามเฉพาะตัว ทำให้นักศึกษาเกิดความเบื่อหน่ายและขาดความสนใจในการเรียน 3. นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบัญชีชั้นกลาง 2 ต่ำ

@ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีชั้นกลาง 2 สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.1) ของวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะ การบัญชีชั้นกลาง 2 สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.1) 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะ การบัญชีชั้นกลาง 2 สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.1) @ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ

ผังสรุปสำคัญ พัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีชั้นกลาง 2 การพัฒนาแบบฝึกเสริม ทักษะการบัญชีชั้นกลาง 2 สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ของวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่ เรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีชั้นกลาง 2 ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีชั้นกลาง2

สรุปผลการวิจัย 1. การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะวิชา การบัญชีชั้นกลาง 2 ประกอบด้วยขั้นตอน 6 ขั้นตอนคือศึกษาหลักสูตร ศึกษาข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการเขียนแบบฝึกเสริมทักษะวิชา การบัญชีชั้นกลาง 2 เลือกเนื้อหาสำหรับจัดทำชุดฝึก ประกอบการเรียน การประเมิน การแก้ไขชุดฝึก โดยชุดฝึกทักษะมีเนื้อหาย่อย 6 หัวข้อเหมือนกัน คือ แบบทดสอบก่อนเรียน เนื้อหา แบบทดสอบหลังเรียน สังเขปรายวิชา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และเกี่ยวกับการใช้และผู้จัดทำ 2. แบบฝึกเสริมทักษะวิชา การบัญชีชั้นกลาง 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.80/85.90 ซึ่งถือว่ามีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80

3. ความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิชา การบัญชีชั้นกลาง 2 สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ของวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือโดยภาพรวม นักศึกษาเห็นด้วยในระดับมาก และทุกประเด็นเห็นด้วยในระดับมาก มีประเด็นเรื่อง แบบฝึกเสริมทักษะเรียงลำดับเนื้อหาจากง่ายไปหายาก เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะมากเกินไป สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ แบบฝึกหัดเหมาะสมกับเนื้อหาในแบบฝึกเสริมทักษะ ผู้เรียนสามารถถ่ายทอดความรู้ให้บุคคลอื่นได้

ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย 1. ได้แบบเสริมทักษะเพื่อส่งเสริมความสามารถนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ ที่มีประสิทธิภาพ 80/80 2. นักศึกษาที่ใช้แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีชั้นกลาง 2 สามารถหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 3. นักศึกษามีความพึงพอใจในการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีชั้นกลาง 2

สวัสดีค่ะ