บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
Advertisements

Product and Price Management.
รหัส หลักการตลาด.
Product and Price ครั้งที่ 8.
Product and Price ครั้งที่ 12.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
BA2301 หลักการตลาด การค้าปลีกและการค้าส่ง
Priciples of Marketing
Lesson 2 Strategic Planning and The marketing Process &Market Segmentation,Targeting, and Positioning for Competitive Advantage.
Lesson 11 Price.
Lesson 7 Promotion Mix.
หลักการตลาด บทที่ 13 การส่งเสริมการตลาด.
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
หลักการตลาด บทที่ 15 การส่งเสริมการขาย.
การวางแผนกลยุทธ์.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
บทที่ 6 พฤติกรรมผู้บริโภค.
วิชาชีพและจริยธรรมทางการตลาด
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การกำหนดกลยุทธ์การตลาด
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
บทที่ 13 การค้าส่งและการค้าปลีก (Wholesaling and Retailing)
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
บทที่ 4 กระบวนการตัดสินใจ
Integrated Marketing Communication : IMC
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Integrated Marketing Communication
Marketing Plan for Software Business
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
บทที่ 1 บทนำ.
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
บทที่ 5 การค้าปลีก.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
บทที่ 4 การค้าส่ง.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
การวัดการวิจัยในการตลาด
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 9 การจัดการโซ่อุปทานและโลจีสติกส์
การจัดการส่วนประสมการตลาดในช่องทางการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
บทที่ 7 การส่งเสริมการขาย
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 ข้อเสนอ การสร้างสรรค์ จังหวะเวลา และบริการที่มอบให้กับลูกค้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด การนำสินค้าหรือบริการจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคเพื่อที่ว่าผู้บริโภคจะได้รับความพึงพอใจและขณะเดียวกันก็เพื่อสามารถประสบความสำเร็จในวัตถุประสงค์ขององค์การด้วย

หน้าที่และกิจกรรมทางการตลาด 1. การซื้อ 2. การขาย 3. การขนส่ง 4. การเก็บรักษา 5. การจัดมาตรฐานและระดับชั้นของสินค้า 6. การเงิน 7. การรับภาระความเสี่ยง 8. สารสนเทศทางการตลาดและการวิจัยตลาด

การตลาดช่วยสร้างอรรถประโยชน์ อรรถประโยชน์ด้านรูปแบบ อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ อรรถประโยชน์ด้านเวลา อรรถประโยชน์ด้านการเป็นเจ้าของ อรรถประโยชน์ด้านภาพพจน์

วิวัฒนาการแนวคิดทางการตลาด แนวคิดทางด้านการผลิต แนวคิดทางด้านผลิตภัณฑ์ แนวคิดทางด้านการขาย แนวคิดทางด้านการตลาด แนวคิดทางด้านการตลาดเพื่อสังคม

การแบ่งส่วนตลาด 2. ตัวผันแปรทางด้านภูมิศาสตร์ 3. ตัวผันแปรทางด้านบุคคล 1. ตัวผันแปรทางด้านสังคม 2. ตัวผันแปรทางด้านภูมิศาสตร์ 3. ตัวผันแปรทางด้านบุคคล 4. ตัวผันแปรที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อ

พฤติกรรมผู้บริโภค 1. อิทธิพลที่มีต่อพฤติกรรมผู้บริโภค 1. อิทธิพลที่มีต่อพฤติกรรมผู้บริโภค 1.1 อิทธิพลทางจิตวิทยา 1.2 อิทธิพลส่วนบุคคล 1.3 อิทธิพลทางสังคม 1.4 อิทธิพลทางวัฒนธรรม

พฤติกรรมผู้บริโภค กระบวนการซื้อของผู้บริโภค 2.1 การรับรู้ปัญหา/ความต้องการ 2.2 การหาข้อมูล 2.3 การประเมินทางเลือก 2.4 การตัดสินใจซื้อ 2.5 การประเมินภายหลังซื้อ

ส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) 4 P’s Product Price Place Promotion

4P’s Product ผลิตภัณฑ์ คุณภาพ - รูปร่างลักษณะ อุปกรณ์เสริม - ตราสินค้า คุณภาพ - รูปร่างลักษณะ อุปกรณ์เสริม - ตราสินค้า บรรจุภัณฑ์ - ขนาด การบริการ - การรับประกัน การคืนสินค้า - การกำหนดตำแหน่งของ ผลิตภัณฑ์

Price ราคา Place การจัดจำหน่าย 4P’s ราคาตามป้าย ช่องทางการจัดจำหน่าย ส่วนลด ส่วนยอมให้ ระยะเวลาการจ่าย เงินชำระสินค้า การให้เครดิต Place การจัดจำหน่าย ช่องทางการจัดจำหน่าย การครอบคลุมตลาด ทำเลที่ตั้ง การสินค้าคงคลัง การขนส่ง

Promotion การส่งเสริมการตลาด 4P’s Promotion การส่งเสริมการตลาด การโฆษณา การขายโดยใช้พนักงาน การส่งเสริมการขาย การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์

ประเภทของผลิตภัณฑ์ Product ผลิตภัณฑ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. สินค้าอุปโภคบริโภค - สินค้าสะดวกซื้อ - สินค้าเปรียบเทียบซื้อ - สินค้าเจาะจงซื้อ - สินค้าที่ไม่แสวงซื้อ 2. สินค้าอุตสาหกรรม

องค์ประกอบที่สำคัญของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์หลัก รูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ควบ

วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์

Price ราคา วิธีการกำหนดราคา 1.กำหนดราคาโดยใช้ต้นทุนเป็นเกณฑ์ -วิธีบวกเพิ่มจากต้นทุน (Mark up on cost ) ราคาขาย = ต้นทุน + กำไร -วิธีบวกเพิ่มจากราคาขาย(Mark up on selling Price) -วิธีบวกเพิ่มโดยพ่อค้าคนกลาง (Mark up by middlemen) -โดยบวกเพิ่มแบบลูกโซ่ คือ บวกเพิ่มจากราคาขาย เช่น ผู้ผลิตบวกกำไรเพิ่ม 10% ผู้ค้าส่งบวกเพิ่ม 20 % ผู้ค้าปลีกบวกเพิ่ม 40 %

วิธีการกำหนดราคา 2. กำหนดราคาโดยใช้อุปสงค์เป็นเกณฑ์ -พิจารณาความต้องการซื้อของผู้บริโภคที่มีระดับราคาต่างๆ 3. กำหนดราคาโดยใช้คู่แข่งขันเป็นเกณฑ์ -กำหนดราคาสูงกว่าคู่แข่งขัน -กำหนดราคาต่ำกว่าคู่แข่งขัน -กำหนดราคาเท่าคู่แข่งขัน

ประเภทช่องการจัดจำหน่าย มี 2 ประเภท Place การจัดจำหน่าย ประเภทช่องการจัดจำหน่าย มี 2 ประเภท 1.ช่องการจัดจำหน่ายโดยตรง (ผู้ผลิตส่งตรงยังผู้บริโภค) หมายถึง ช่องทางการนำสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคโดยไม่อาศัยคนกลาง 2.ช่องทางการจัดจำหน่ายทางอ้อม (ผู้ผลิตส่งผ่านผู้ค้าส่ง) หมายถึงช่องทางจัดจำหน่ายที่ผู้ผลิตนำสินค้าไปยังผู้บริโภคโดยอาศัยคนกลาง (ผู้ผลิตจะอาศัยคนกลางทำหน้าที่ขายหรือหน้าที่ทางการตลาดอื่นๆเช่น การขนส่ง การเก็บรักษา การบรรจุภัณฑ์)

การกระจายสินค้า หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ การกระจายสินค้า หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนย้ายตัวสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคหรือผู้ใช้ทาง อุตสาหกรรม คือ 1. ทำเลที่ตั้งคลังสินค้าและการคลังสินค้า 2. การจัดการวัสดุ 3. การควบคุมสินค้าคงเหลือ 4. การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับคำสั่งซื้อ 5. การขนส่ง

Promotionการส่งเสริมการขาย การส่งเสริมการตลาด หมายถึง กระบวนงานด้านการสื่อสารการตลาดระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขาย และผู้ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการซื้อ เพื่อให้ข้อมูล ชักจูงใจ หรือตอกย้ำเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ และตรายี่ห้อ รวมทั้งเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง ความเชื่อ ทัศนคติ ความรู้สึก และพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย

เครื่องมือที่ใช้ในการส่งเสริมการตลาด ประกอบด้วย -การโฆษณา (Advertising) -การประชาสัมพันธ์ (Public relation) -การใช้พนักงานขาย (Personal selling) -การส่งเสริมการขาย (Sales Promotion ) เช่น การลดราคา การแลกซื้อ , การแจกตัวอย่าง , การแจกคูปอง , การแถมสินค้าการแข่งขัน การชิงโชค -การตลาดทางตรง (Direct Marketing)