วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1.กดปุ่ม Unzip (เลือกเป็น D:\)
Advertisements

แนวทางการบันทึกข้อมูลเวชระเบียน การให้บริการสุขภาพช่องปาก
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
ขั้นตอนการลงทะเบียน แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การเพิ่มประสิทธิภาพ การส่งเบิกสวัสดิการรักษาพยาบาล
บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
สำรวจข้อมูลโรงงาน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลโรงงาน
ประสบการณ์จากงานบริการสารสนเทศ: ประโยชน์
กลุ่ม Well Being 1 นางศรีนวล รัตนวรรณนุกูล ประธานกลุ่ม
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
NU. Library Online Purchasing System
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
ทบทวนการให้รหัสICD-10TM For PCU
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
การรับส่งเงินและการเรียกเก็บชดเชยค่าบริการทางการแพทย์
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
การบันทึกรายการสินทรัพย์
ขั้นตอนการพิมพ์สัญญาเงินกู้ยืมเงิน กยศ.ในระบบ e-studentloan..
ระบบทะเบียนสมรส และ ระบบทะเบียนการหย่า.
ข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ
Medication reconciliation
แนวทางการดำเนินงานแพทย์แผนไทย ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 แผนงานสนับสนุนระบบบริการการแพทย์แผนไทย สปสช.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
ทางเลือกใหม่ ของ การตรวจสอบสิทธิ.
การวิเคราะห์ข้อมูล.
โปรแกรมระบบข้อมูลแจ้งเตือนภัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ อุบลราชธานี 2009.
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
การลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่
การตรวจสอบหลักฐาน เพื่อเชื่อมโยงสิทธิ ระหว่างผู้มีสิทธิกับบุคคลในครอบครัว ในการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐตามโครงการจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล
เรื่อง ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
ระบบโปรแกรมทะเบียนเกษตรกรรายแปลง
1 การจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูล โครงการมาตรการแทรกแซงตลาดมัน สำปะหลัง ออมทรัพย์ ไวยากรณ์วิลาศ ผอ. กลุ่มวิเคราะห์และวางระบบข้อมูล ศูนย์สารสนเทศ.
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน งานปรับปรุงข้อมูลและตั้งเบิก
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน ระบบงานการเงิน
ภาณุวัฒน์ ประทุมขำ โปรแกรมเมอร์อาวุโส DAMASAC
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
ผู้รับผิดชอบ นางอรุณรัตน์ ลาธรรม
ขอบข่ายของระบบ รองรับระบบงานของ บริษัทประกันภัย รองรับระบบงานของ
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
เมนู...บันทึกการให้บริการหญิงหลังคลอด
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
การเพิ่มการเข้าถึงบริการกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยเด็ก (C : Child)
ระบบการเรียกเก็บหนี้
การประชุมซักซ้อมการปฏิบัติงาน การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส. ก
การใช้โปรแกรมส่งต่อ ThaiRefer
DMC 2/2014. ข้อมูลที่โรงเรียนต้องดำเนินการปรับปรุง ในภาคเรียนที่ 2/ ข้อมูลพื้นฐาน ( กรณีโรงเรียนเปลี่ยน ผู้บริหาร / แก้ไขข้อมูลพื้นฐานอื่นๆ ) 2.
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการพิเศษ สพม. 34 เบอร์ติดต่อ
จัดทำโดย นางฐิตารีย์ สอนจันดา 1 มิถุนายน 2556
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
การเขียนคำร้องตามมาตรา 41
รายงานสรุปสถิติผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลทันตกรรมประจำปีงบประมาณ2555
จัดทำโดย นางสุภัสสรา พลซักซ้าย 1 มิถุนายน 2556
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm จัดทำโดย นายจักรวุธ ศรีพิมพ์มาตย์ 1มิถุนายน 2556

แรงจูงใจ การรายงานสถิติผู้ป่วยนอก ได้รวบรวมข้อมูลจากคลินิกต่าง ๆ ว่ามีการรักษาทั้งหมด เท่าไหร่โดยจะแยกประเภทเป็นผู้ป่วยเก่า และผู้ป่วยใหม่ เท่านั้น ยังไม่เคยรายงาน ตามกลุ่มโรค กลุ่มหัตถการ กลุ่มอายุ และอื่น ๆ เนื่องจากยังไม่มีการป้อนข้อมูลชื่อโรค รหัสโรค หัตถการและรหัสหัตถการ รหัสแพทย์ผู้รักษา รหัสคลินิก เพื่อการพัฒนา ระดับการรายงานสถิติ จึงมีการป้อนข้อมูลดังกล่าว โดยดูข้อมูลจากใบ ptr ของแต่ละ คลินิกทำให้ทราบจำนวนของโรคต่างๆ ที่รักษาภายในคณะทันตแพทยศาสตร์ ได้อย่างรวดเร็วและง่ายต่อการปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน

การปฏิบัติงาน ในปี พ.ศ. 2555 งานเวชระเบียนแผนกผู้ป่วยนอกได้ป้อนข้อมูลผู้ป่วยให้ครบถ้วนตาม ข้อตกลงของสปสช. ว่าผู้ป่วยทุกคนที่มารักษาที่คณะทันตแพทยศาสตร์จะได้รับเงิน ชดเชยจากสปสช. แต่ต้องส่งข้อมูลว่าด้วยโรค รหัสโรค หัตถการ รหัสหัตถการ ตาม icd10 tm ชื่อ-สกุลผู้ป่วย เลขบัตรประชาชน 13 หลัก วันเดือนปีเกิด ที่อยู่ รหัสที่อยู่ สิทธิการรักษา รหัสสิทธิฯ ลงโปรแกรมระบบบัตร ข้อมูลพื้นฐานป้อนตามที่ ผู้ป่วยแจ้งและตรวจสอบสิทธิจากเวบ สปสช.และเวบของกรมบัญชีกลาง ส่วนโรค รหัสโรค หัตถการ รหัสหัตถการ รหัสอาจารย์ และคลินิก ป้อนตามใบ ptr ของ แต่ละคลินิกเท่าที่ส่งมาให้ จะไปรับเองตามคลินิก และจุดการเงิน

การปฏิบัติงาน ในการลงข้อมูลผู้ป่วยตามโรค และหัตถการใช้รหัสตามICD10tm จะมีโปรแกรมเพื่อ ป้อนรายการดังกล่าว (ตามตัวอย่าง)

ขั้นที่1 ป้อน ข้อมูลตามตารางฐานข้อมูลผู้ป่วยนอก และเชื่อมโยงระบบสปสช. ขั้นที่1 ป้อน ข้อมูลตามตารางฐานข้อมูลผู้ป่วยนอก และเชื่อมโยงระบบสปสช.

วิธีการใหม่(ลงในคอมพิวเตอร์) ขั้นที่2 ลงข้อมูลสิทธิผู้ป่วยโดยตรวจสอบ ตามสิทธิของผู้ป่วย และกดบันทึก

ขั้นที่3 ป้อนเลขที่บัตรประจำตัวผู้ป่วย วันที่รักษา รหัสภาควิชา กดยืนยัน จะได้ลำดับสปสช.

แรงจูงใจ ขั้นที่4 ป้อนรหัสภาควิชา รหัสแพทย์ที่รักษา รหัสโรค และชนิดของโรค และกดบันทึก

แรงจูงใจ ขั้นที่5 ป้อนรหัสคลินิก รหัสแพทย์ที่รักษา รหัสหัตถการ ลำดับ กดบันทึก

แรงจูงใจ สถิติผู้ป่วยนอก พ.ศ.2556(ม.ค.- พ.ค.) แยกตามกลุ่มโรค

แรงจูงใจ สถิติผู้ป่วยนอกปี2556(ม.ค.-พ.ค) แบ่งตามกลุ่มโรค

แรงจูงใจ สถิติผู้ป่วยนอกปี2556(ม.ค.-พ.ค) แบ่งตามอายุ

แรงจูงใจ สถิติผู้ป่วยนอกปี2556(ม.ค.-พ.ค) แบ่งตามเพศ

แรงจูงใจ สถิติผู้ป่วยนอกปี2556(ม.ค.-พ.ค) แบ่งตามจังหวัด