วิชา น. 765 กฎหมายประกันภัยทางทะเล โดย ศาสตราจารย์ ดร.กำชัย จงจักรพันธ์ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
ประวัติย่ออาจารย์กำชัย ประวัติการศึกษา -นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ -ศิลปศาสตร์บัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง -เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา -LL.M. in International Business Law (with Merit) University College London (UCL) University of London -Ph.D. King’s College London (KCL) University of London © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ ประสบการณ์การทำงาน คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองอธิการบดีฝ่ายการนักศึกษา รองอธิการบดีฝ่ายบริหารบุคคล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกฎหมาย กรรมการสภามหาวิทยาลัย (ประเภทผู้แทนผู้บริหาร) ฯลฯ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ ตำแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้อำนวยการหลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ที่ปรึกษาคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ก.ก.ต.) รองประธานคณะกรรมการมูลนิธิ Pearl S. Buck (ประเทศไทย) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ ตำแหน่งปัจจุบัน กรรมการปฏิรูปกฎหมาย (ประเภทบางเวลา) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัย อุทธรณ์ (คณะกรรมการกำกับการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า) ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย ธนาคารกรุงไทย อนุกรรมการกฎหมายและระเบียบ ป.ป.ช. อนุกรรมการปฏิบัติการยุทธศาสตร์ ก.ส.ม. © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ การประกันภัยทางทะเล – เป็นธุรกรรมสำคัญอย่างหนึ่งในการค้าระหว่างประเทศ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
สัญญาว่าด้วยการรับขนของ ทางทะเล (Contract of Affreightment) ซื้อขาย ประกันภัย การเงินและ การชำระราคา สัญญาว่าด้วยการรับขนของ ทางทะเล (Contract of Affreightment) © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ -เป็นธุรกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับการค้าระหว่างประเทศ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ ธุรกรรมประกันภัยทางทะเล เป็นธุรกรรมที่ได้รับการกำกับ ดูแล สนับสนุน ส่งเสริมและควบคุม แทรกแซงโดยรัฐ อาทิ –มติคณะรัฐมนตรีกำหนดให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจใช้บริการจากบริษัทประกันภัยในประเทศ -แนะนำให้ผู้ได้รับการส่งเสริมการลงทุนใช้บริการจากบริษัทประกันภัยในประเทศ -การจัดตั้งหน่วยงาน คณะกรรมกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ) © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ มาตรการทางกฎหมาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย ป.พ.พ. ม. 868 “อันสัญญาประกันภัยทางทะเล ท่านให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายทะเล” © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ ป.พ.พ. มาตรา 4 บัญญัติว่า “กฎหมายนั้นต้องใช้ในบรรดากรณีซึ่งต้องด้วยบทบัญญัติใด ๆ แห่งกฎหมายตามตัวอักษรหรือตามความมุ่งหมายของบทบัญญัตินั้น เมื่อไม่มีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั้นตามจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น ถ้าไม่มีจารีตประเพณีเช่นว่านั้น ให้วินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง และถ้าบทกฎหมายเช่นนั้นก็ไม่มีด้วย ให้วินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป” © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ กฎหมายประกันภัยทางทะเล เป็นกฎหมายการค้าระหว่างประเทศภาคเอกชน และภาคมหาชน เอกชน (MIA 1906) มหาชน พ.ร.บ. ประกันวินาศภัย © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
การอุดช่องว่างของกฎหมายโดยศาล แนวที่ 1 : คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 999/2496 และที่ 7350/2537 แนวที่ 2 : คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6649/2537 © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ กฎหมายประกันภัยทางทะเลของประเทศอังกฤษ : The Marine Insurance Act 1906 (พระราชบัญญัติการประกันภัยทางทะเล ค.ศ. 1906) -กฎหมายภายใน/ไม่ใช่อนุสัญญาระหว่างประเทศ -Codifying Case Law -เป็นไปตามความต้องการของพ่อค้า ไม่ใช่นักกฎหมาย © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ กฎหมายประกันภัยทางทะเลของประเทศอังกฤษ : The Marine Insurance Act 1906 ประกอบด้วย 3 ส่วน 1. บทมาตราต่าง ๆ (มาตรา 1-94) 2. ตารางแนบท้ายพระราชบัญญัติ 1 (Schedule 1) ตอนต้น คือตัวอย่างกรมธรรม์ประกันภัยที่เรียกว่า Lloyd’s S & G Policy ตอนท้าย คือกฎหรือหลักในการตีความกรมธรรม์ประกันภัย (Rules for Construction of Policy 3. ตารางแนบท้ายพระราชบัญญัติ 2 (Schedule 2) คือรายชื่อพระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่ถูกยกเลิกไปโดย The Marine Insurance Act 1906 © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
กฎหมายประกันภัยทางทะเลของอังกฤษ : The Marine Insurance Act 1906 กฎหมายภายใน / ไม่ใช่อนุสัญญาระหว่างประเทศ Codifying case law ความมีผลใช้บังคับ / ความเป็นสากล Form of policy Rules for construction of policy © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
องค์กรที่สำคัญในการประกันภัยทางทะเล - Lloyd’s of London - Institute of London Underwriters - Mutual Insurance Associations © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
กรมธรรม์ประกันภัย และข้อสัญญามาตรฐาน - Old S.&G. Policy - New Standard Policy (MAR Forms) และ Institute Clauses © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
หลักกฎหมายประกันภัยทางทะเลที่สำคัญ หลักส่วนได้เสีย (Insurable Interest) หลักสุจริตอย่างยิ่ง (Principle of Utmost Good Faith) © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์