งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นิติปรัชญา อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๗

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นิติปรัชญา อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๗"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นิติปรัชญา อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๗
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๗

2 ทำความเข้าใจกันก่อน

3 ความรู้แบบ สามัญสำนึก ศาสตร์ Abstract Rational Systematic Methodical

4 ความรู้ที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
ศาสตร์ประยุกต์ ความรู้ที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ศาสตร์ทางทฤษฎี ความรู้ในระดับที่สูงกว่า เป็นการนำเอาศาสตร์ประยุกต์มาสกัดให้ได้ข้อความคิดทั่วไป (CONCEPT)

5 ศาสตร์ (Science) “Philosophy” วิทยาศาสตร์ ศาสตร์ทาง วัฒนธรรม
Universal Science “Philosophy” Particular Science การศึกษาอย่างเป็นทั้งมวล (AS A WHOLE) การเพ่งวัตถุที่ศึกษาเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งและศึกษาเฉพาะส่วน ปรัชญาเฉพาะ ปรัชญาเฉพาะ วิทยาศาสตร์ อภิปรัชญา ศาสตร์ทาง วัฒนธรรม ญาณปรัชญา จริยปรัชญา มนุษยศาสตร์ สุนทรียปรัชญา นิติศาสตร์โดยแท้ สังคมศาสตร์

6 ลักษณะพิเศษของปรัชญา
Principle of Unity Critical As a Whole

7 วิชานิติศาสตร์ คืออะไร???

8 Legal Science Legal Science Proper Legal Science of Fact
Legal Science of Value

9 Positive Law (กฎหมายบ้านเมือง)
Legal Science Proper นิติศาสตร์โดยแท้ รู้ (Know) ใช้ (Apply) Content of Law Legal Method Positive Law (กฎหมายบ้านเมือง)

10 Dogmatic Legal Science Dogmatic Jurisprudence
จะ “เรียน” นิติศาสตร์โดยแท้ ทำอย่างไร หลักกฎหมาย Dogmatic Legal Science Dogmatic Jurisprudence

11 หลักกฎหมายที่เป็นระบบ มีความเกี่ยวโยงกัน
นิติศาสตร์โดยแท้ นิติศาสตร์ทั่วไป นิติศาสตร์เฉพาะ หลักกฎหมายที่เป็นระบบ มีความเกี่ยวโยงกัน กฎหมายเฉพาะเรื่อง เช่น กฎหมายแพ่งลักษณะหนี้ ทรัพย์ ... กฎหมายอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความ

12 ปพพ. มาตรา 4 กฎหมายนั้น ต้องใช้ในบรรดากรณีซึ่งต้องด้วยบทบัญญัติใดๆแห่งกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุ่งหมายของบทบัญญัตินั้นๆ เมื่อไม่มีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับแก่คดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั้นตามจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น ถ้าไม่มีจารีตประเพณีเช่นว่านั้น ให้วินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง และถ้าบทกฎหมายเช่นนั้นก็ไม่มีด้วยให้วินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป

13 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์ มาตรา ๑๓๗ ทรัพย์ หมายถึงวัตถุมีรูปร่าง มาตรา ๑๓๘ ทรัพย์ หมายความร่วมทั้งทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ ทรัพย์ มี ๒ ประเภท กล่าวคือ สังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์

14 นิติศาสตร์ในแง่ข้อเท็จจริง
Legal Science of Fact นิติศาสตร์ในแง่ข้อเท็จจริง ประวัติศาสตร์กฎหมาย สังคมวิทยากฎหมาย ตำนาน การกำเนิด และวิวัฒนาการของกฎหมาย สภาพความเป็นจริงเกี่ยวกับกฎหมายในสังคม สภาพความเป็นจริงเกี่ยวกับสังคมในแง่ตำนานกำเนิดของกฎหมาย พิเคราะห์อิทธิพลของกฎหมายที่มีต่อสังคม ประวัติศาสตร์หลักกฎหมาย ประวัติศาสตร์กฎหมายทั่วไป

15 นิติศาสตร์ในแง่คุณค่า วิจารณ์กฎหมายที่มีอยู่
Legal Science of Value นิติศาสตร์ในแง่คุณค่า วิจารณ์กฎหมายที่มีอยู่ ดีหรือไม่ดี มีผลหรือไม่

16 วิชานิติบัญญัติ วิชากฎหมายเปรียบเทียบ ทั่วไป เฉพาะ
Legal Science of Value วิชากฎหมายเปรียบเทียบ วิชานิติบัญญัติ เป็นการศึกษากฎหมายโดยใช้การเปรียบเทียบทั้งในแง่ระบบกฎหมาย และพัฒนาการของกฎหมาย เป็นการศึกษาถึงการบัญญัติกฎหมายในเชิงวิเคราะห์ถึงคุณค่า ว่าดีหรือไม่ ทั่วไป เฉพาะ เทคนิคในการบัญญัติกฎหมาย

17 ประโยชน์ของการเปรียบเทียบเชิงคุณค่าในวิชานิติศาสตร์
ทำให้เข้าใจระบบกฎหมายอย่างลึกซึ้ง ทำให้เข้าใจว่ากฎหมายที่มีอยู่นั้นดีหรือเหมาะสมหรือไม่ ทำให้เห็นแนวทางของการบัญญัติกฎหมายใหม่ ที่เหมาะสมและใช้ได้จริงในทางปฏิบัติ

18 ทั้งหมดเป็นเพียงทฤษฎี นิติปรัชญาในชีวิตของนักกฎหมาย
???

19 ในทางปฏิบัติได้อย่างไร
เราใช้ “นิติปรัชญา” ในทางปฏิบัติได้อย่างไร

20 ตัวอย่างของกฎหมาย ร่าง พ.ร.บ.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ....
พ.ร.บ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๔๔


ดาวน์โหลด ppt นิติปรัชญา อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๗

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google