งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน
เพื่อการพัฒนาส่วนงาน ม. มหิดล และแผ่นดิน วิจารณ์ พานิช เสนอในการสานเสวนาเรื่อง “บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน” จัดโดยสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๓ ก.พ. ๕๔ ศาลายา

2 หลักการบริหารและกำกับดูแลมหาวิทยาลัย
มีประเพณี Collegial Community of Scholars รวมตัวกันเอง ออกเงินเอง หรือมีผู้อุปถัมภ์ เคลื่อนสู่ Business/Corporate Management & Governance รัฐ & สังคมเรียกร้อง USR

3 Strong Management & Participation
หัวหน้าส่วนงาน – Strong Management & Collective Leadership คณะกรรมการส่วนงาน – Collective Leadership, Risk Management, Networking & Governance Mechanism ยึดโยงด้วย Goal/Target/Development ของส่วนงาน มหาวิทยาลัยมหิดล และประเทศไทย ยึดโยงด้วย คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ ความเห็นแก่ส่วนรวม – USR

4 Governance / Participatory Management
ระดับส่วนงาน ของ มม. องค์ประกอบเป็นคนในส่วนงานทั้งหมด เป็นคณะกรรมการดำเนินงาน มุมมองเป็น inside view เน้นความร่วมมือ ความราบรื่น

5 คณะ กก. ประจำส่วนงานของ มม.
หน. ส่วนงาน เป็น ปธ. รอง หน. ส่วนงานเป็น กก. หนภ. / ปธ. หลักสูตร กก. ผู้แทน อจ. ๔ เลือกตั้ง ผู้แทนสายอื่น ๐ – ๔ เลือกตั้ง

6 หน้าที่ ให้คำปรึกษา วางนโยบายและแผน
พิจารณาเปิด/ปรับ/ยุบ การศึกษา/หลักสูตร วัด/ประเมินผลการศึกษา ติดตามผลของนโยบายและแผน

7 การประชุม ไม่น้อยกว่าเดือนละครั้ง กรรมการขอให้เรียกประชุมได้
ระบุองค์ประชุม ขอให้ประชุมลับได้ ระบุเกณฑ์การลงมติ

8 ไม่ได้ระบุเรื่อง Academic Leadership
หัวหน้าส่วนงาน มาตรา ๓๗ ในแต่ละคณะและส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น ให้มีคณบดีหรือผู้อำนวยการคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของส่วนงานนั้น และจะให้มีรองคณบดีหรือรองผู้อำนวยการตามจำนวนที่สภาหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อทำหน้าที่และรับผิดชอบงานตามที่คณบดีหรือผู้อำนวยการมอบหมายก็ได้ ไม่ได้ระบุเรื่อง Academic Leadership

9 หัวหน้าส่วนงาน - คณะกรรมการ
Strong leadership & coordination Synergy Risk management External collaboration

10 จุดอ่อน ขาดมุมมองจาก outside-in / stakeholders
โอกาสริเริ่มงานเชิง innovative เกิดยาก? มีคนมองเป็น Balanced of Power ไม่มองเป็น Synergy ไม่ได้ระบุเรื่องการจัดการ/กำกับดูแล ทรัพยากร

11 กรรมการส่วนงานรูปแบบอื่น – มช.
แยกเป็น ๒ ชุด : กก. อำนวยการ & กก. บริหาร กก. อำนวยการดูแลภาพใหญ่ ยุทธศาสตร์ การเงิน การลงทุน แต่งตั้งตำแหน่งบริหาร ประธานคืออธิการบดี หรือ... กรรมการเป็นกรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิ หรือบุคคลภายนอก ๓ – ๔ คน หัวหน้าส่วนงานเป็น กก. และเลขานุการ ได้ outside / development / strategic view คล้าย CMMU, MUIC, ว. ดุริยางคศิลป์

12 การสร้าง Shared Vision
โดยกระบวนการทางวิชาการ ใช้ข้อมูลตรวจสอบ competitiveness, foresight อย่างไม่เป็นทางการ & ทางการ ไปสู่ความพร้อมใจ ทั่วทั้งส่วนงาน ใช้คณะกรรมการเป็นขั้นตอนที่เป็นทางการ แล้วเสนอที่ประชุมคณบดี -> สภาฯ

13 ความเป็นเลิศทางวิชาการของส่วนงาน
ทำงานเดิมได้มีคุณภาพ ยกเลิกงานที่หมดความจำเป็น ริเริ่มงานใหม่ ที่นำหน้า คู่แข่งทำไม่ได้ ความร่วมมือภายในประเทศ ความร่วมมือต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับนับถือ ยกย่อง สนับสนุน ร่วมมือ

14 กลไกสู่ Top 100 World University
ที่ยังไม่มี – International Advisory Committee 3 – คน อาจมีคนไทย ๑ คน เพื่อมองอนาคต และเปิดทาง international collaboration ทำงานใหม่ กรรมการประจำส่วนงาน & อาจารย์ทุกคนเข้าร่วมฟัง

15 กลไกสู่ Top 100 World University
Annual Retreat คุยกันเรื่องเชิงพัฒนา ภาพใหญ่ อนาคต อาจมี keynote speaker จุดประกาย ร่วมกันวาดภาพฝัน ให้เกิด “ฝันร่วม” (Shared Vision) และยุทธศาสตร์บรรลุเป้าหมาย

16 กลไกสู่ Top 100 World University
Self-Evaluation ของคณะกรรมการหน่วยงาน เพื่อยกระดับ performance ของคณะกรรมการ เป็นการเตือนสติตนเอง ให้ทำงานโดยยึดหลัก รอบคอบ ซื่อสัตย์ ปฏิบัติตามกฎ โปร่งใส ทำงานใน strategic & generative mode


ดาวน์โหลด ppt บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google