วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.

ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.

ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การศึกษาองค์ประกอบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อใน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ นางสาวธัญศญา ธรรมิสกุล วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์

ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ชื่อผลงานวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นายรัตนวุธ บุญเทียบ.
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา งานวิจัย เรื่อง “การศึกษาสถานภาพการประยุกต์ใช้ ICT และ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ และอุปสรรค การบูรณาการ ICT เพื่อการศึกษา ของนักเรียน – นักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา” โดย อ.เอกพงษ์ วรผล วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา

ปัญหาการวิจัย ในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทและมี อิทธิพลในการดำเนินงานต่าง ๆ ในทุกๆวงการ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในวงการศึกษาของไทยมีการตื่นตัวอย่างมากในการ ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ช่วยในการเรียนการ สอนมากขึ้น การนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในวง การศึกษาเป็นการเตรียมตัวผู้เรียนให้พร้อมที่จะออกไปมี ชีวิตอยู่ในสังคมปัจจุบันรวมทั้งเป็นการฝึกทักษะของ ผู้เรียนให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษาหาความรู้ต่อไป

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ เนื้อหาส่วนใหญ่จะ เป็นการเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ แต่การเรียนใน ภาคปฏิบัตินั้น ต้องอาศัยความพร้อมในหลายด้าน ทั้ง ในเรื่องของอุปกรณ์และสื่อที่ทันสมัยในการจัดการเรียน การสอน สภาพการใช้ การเข้าถึง ปัญหา อุปสรรคในการ ใช้ ของผู้เรียน ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะทำให้การจัดการเรียนการ สอนได้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดกับผู้เรียน

วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 1.เพื่อศึกษาสถานภาพการประยุกต์ใช้ ICT และ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ และอุปสรรค การบูรณาการ ICT เพื่อการศึกษา ของนักเรียน – นักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา จำแนกตาม เพศ อายุ และ สาขาวิชา 2. เพื่อศึกษาสถานภาพการประยุกต์ใช้ ICT และ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ และอุปสรรค การบูรณาการ ICT เพื่อการศึกษา ของนักเรียน – นักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา ใน 6 ด้าน ได้แก่ ด้านการมีและการเข้าถึง, ด้านความรู้ ทักษะทาง ICT, ด้านการได้รับความรู้ และทักษะทาง ICT, ด้านทัศนคติต่อการใช้ ICTเพื่อการศึกษา, ด้านความต้องการให้ใช้ ICT เพื่อการศึกษา ของผู้ที่เกี่ยวข้อง และ ด้านวัตถุประสงค์ในการใช้ ICT 3.เพื่อรวบรวมข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สถานภาพการประยุกต์ใช้ ICT และ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ และอุปสรรค การบูรณาการ ICT เพื่อการศึกษา ของนักเรียน – นักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา

ตารางการวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ลำดับที่ ด้าน ค่าเฉลี่ย ( Ẋ) แปลผล 1 ด้านความต้องการให้ใช้ ICT เพื่อการศึกษา ของผู้ที่เกี่ยวข้อง 3.65 มาก 2 ด้านวัตถุประสงค์ในการใช้ ICT 3.50 ปานกลาง 3 ด้านทัศนคติต่อการใช้ ICTเพื่อการศึกษา 3.41 4 ด้านการมีและการเข้าถึง 3.17 5 ด้านความรู้ ทักษะทาง ICT 3.05 6 ด้านการได้รับความรู้ และทักษะทาง ICT 2.96 เฉลี่ย 3.29

สรุปผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นของนักเรียน – นักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ เจ้าพระยา ที่มีต่อ สถานภาพการประยุกต์ใช้ ICT และ ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความสำเร็จ และอุปสรรค การบูรณาการ ICT เพื่อการศึกษา โดยรวมทุกด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีความคิดเห็นอยู่ใน ระดับมาก 1 ด้าน ได้แก่ ด้านความต้องการให้ใช้ ICT เพื่อการศึกษา ของผู้ที่ เกี่ยวข้อง และมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง 5 ด้าน เรียงลำดับจากมาก ไปน้อย อันดับที่ 1ได้แก่ ด้านวัตถุประสงค์ในการใช้ ICT อันดับที่ 2 ได้แก่ ด้านทัศนคติต่อการใช้ ICTเพื่อการศึกษา อันดับที่ 3 ได้แก่ ด้านการมีและการ เข้าถึง อันดับที่ 4 ได้แก่ ด้านความรู้ ทักษะทาง ICT และ อันดับที่ 5 อันดับ สุดท้าย ได้แก่ ด้านการได้รับความรู้ และทักษะทาง ICT

สรุปผล ปัญหา และ อุปสรรค ในการใช้ ICT เพื่อการศึกษา 1.จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ไม่เพียงพอ 2.อินเตอร์เน็ต (Internet) ล่ม, ช้า, หลุดบ่อยๆ 3.ไม่มีความชำนาญในการใช้คอมพิวเตอร์ 4.ความทันสมัยและศักยภาพไม่พร้อม 5.ไม่เข้าใจในวิธีการใช้ ICT 6.ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล

สรุปผล ปัจจัยที่สนับสนุนการใช้ ICT เพื่อการศึกษาที่ต้องการ 2.สื่อประกอบในการเรียนรู้ 3.ความรู้ความชำนาญของอาจารย์ผู้สอน 4.ผู้มีความรู้ทาง ICT โดยตรง 5.อยากให้มีโปรแกรมมากกว่านี้

สวัสดีครับ