วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
โดย นางสาวดวงรัตน์ อยู่ศรีเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การใช้ชุดฝึกทักษะ การบันทึก รายการเกี่ยวกับสินค้า ใน สมุดรายวันเฉพาะ วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรง.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน การสร้างและใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการคุ้มครองผู้บริโภคสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาการตลาด ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน โดย นางสาวสายใจ ยศประยูร สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน

ปัญหาการวิจัย ปัญหาจากปัจจัยการเรียนการสอน ได้แก่ ไม่มีหนังสือ ตำรา หรือแบบเรียน ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนโดยตรง ส่วนปัญหาจากตัวนักศึกษา พบว่า นักศึกษาขาดความกระตือรือร้นในการเรียน ไม่ชอบการเรียนแบบบอกให้จดบันทึกและไม่ชอบคิดวิเคราะห์ และนักศึกษาบางกลุ่มไม่กระตือรือร้นในการทำงานกลุ่ม เอกสารประกอบการเรียนการสอนจึงมีประโยชน์ในการใช้เป็นคู่มือครู เพื่อการพัฒนา การเรียนการสอนของครู และพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักศึกษา ทำให้การเรียน การสอนมีประสิทธิภาพ และนักศึกษาบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ส่งผลให้นักศึกษา มีความกระตือรือร้น สนใจในการเรียน มีตำราหรือแบบเรียน เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนและเพื่อใช้ในการทบทวน ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ผู้สอนจึงจัดทำเอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา การคุ้มครองผู้บริโภค มาใช้ใน การวิจัยและจัดการเรียนการสอน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพเอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา การคุ้มครองผู้บริโภค 2. เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนรู้ด้วยเอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการคุ้มครองผู้บริโภค 3. เพื่อหาความคิดเห็นของนักศึกษา ที่มีต่อการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา การคุ้มครองผู้บริโภค

คะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยรวม ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ เรื่อง ค่าประสิทธิภาพ( E1 / E2 ) 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค 82.38/81.40 2 วัตถุประสงค์และความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค 83.80/81.90 3 หลักและวิธีดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภค 82.61/80.47 4 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค 84.52/82.85 5 ปัญหาและแนวทางแก้ไขเกี่ยวกับการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค 85.47/83.80 คะแนนเฉลี่ยร้อยละโดยรวม 83.76/82.10

ตารางที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนโดยใช้เอกสาร ตารางที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอน ค่าสถิติ ผลการเรียน N คะแนนเต็ม X S.D. t-test sig ก่อนเรียน 25 40 17.52 6.23 **22.67 .000 หลังเรียน 33.12 5.56 ** ระดับนัยสำคัญ P<.05

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นที่มีต่อ การใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการคุ้มครองผู้บริโภค ในภาพรวม รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ระดับความคิดเห็น ด้านเอกสารประกอบการเรียนการสอน 4.01 .40 มาก ด้านผู้สอน 4.19 .31 ด้านผู้เรียน 4.14 .33 ระดับความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอนโดยรวม 4.12 .15

สรุปผลการวิจัย 1. ผลการหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการคุ้มครองผู้บริโภค พบว่า ทั้ง 5 หน่วย มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน E1/E2 เฉลี่ยเท่ากับ 83.76/82.10 2. ผลการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษาที่เรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียน การสอน รายวิชาการคุ้มครองผู้บริโภค พบว่านักศึกษามีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และค่า S.D. หลังเรียนต่ำกว่าก่อนเรียน แสดงว่า หลังจากการเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนการสอน นักศึกษามีคะแนนสูงขึ้น 3. ผลการหาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาการคุ้มครองผู้บริโภคพบว่า นักศึกษามีความคิดเห็นโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก (X =4.12 S.D.=.15)

ขอบคุณค่ะ