ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นายอธิชาติ ไชยาแจ่ม
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย

นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก

ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
อาจารย์นริสรา คลองขุด
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
ชื่อผู้ วิจัย นางสาวพัชราภรณ์ ใจบุญมา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
ชื่อเรื่องงานวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์เพื่อเขียน โปรแกรม Microsoft Visual Basic ชื่อเรื่อง + ชื่อผู้วิจัย + สังกัดวิทยาลัย.
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำเสนอผลงานวิจัย อาจารย์ดุจเดือน รื่นนาม วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ Dusit Commercial College

ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การนำเสนอผลงานวิจัย ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 ห้อง 5 วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ

ปัญหาการวิจัย ปัจจุบัน การเรียนการสอนภาษาไทย ผู้เรียนส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความสนใจ เพราะไม่เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการใช้ภาษาไทยเท่าที่ควร เนื่องจากเป็นภาษาประจำชาติของเรา จึงเกิดความเบื่อหน่าย ทำให้ใช้ภาษาไม่ถูกต้อง เขียนหนังสือผิด จับใจความไม่ได้

ปัญหาการวิจัย ผู้เรียนไม่ค่อยให้ความสนใจ เนื่องจากไม่เห็นความสำคัญ ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย เพราะใช้ภาษาพูดอ่านเขียนในชีวิตประจำวัน เพื่อสื่อสารกันพอเข้าใจ ผู้เรียนสนใจเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่กระตุ้นความสนใจได้มากกว่า วิธีการเรียนการสอนแบบเดิมๆ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใน วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (Pretest) และหลังเรียน (Posttest)

ตารางสรุปผลการวิจัย ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชา ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร การทดสอบ X S.D D t df Sig(I-tailed) ก่อนเรียน 16.63 1.79 8.60 1.75 26.857 29 0.05 หลังเรียน 25.23 1.78 ภายหลังจากที่นักศึกษากลุ่มตัวอย่างเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นักศึกษามีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งมากกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตารางสรุปผลการวิจัย รายการประเมิน ระดับความพึงพอใจ X S.D 1.บทเรียนนี้สามารถใช้ได้ง่าย 4.17 0.65 มาก 2.บทเรียนนี้ช่วยให้นักศึกษามีความเข้าใจเนื้อหาในบทเรียนภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 4.33 0.57 3.บทเรียนนี้ทำให้นักศึกษามีความรู้ในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ 4.สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้จริง 5.นักศึกษาชอบการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4.50 0.51 มากที่สุด 6.การนำเสนอเนื้อหาในบทเรียนมีความน่าสนใจ 4.66 0.48 7.ภาพประกอบบทเรียนมีความเหมาะสมกับเนื้อหา 8.ตัวอักษรในบทเรียนมีขนาดเหมาะสมและอ่านง่าย 9.ความยาวของบทเรียนมีความเหมาะสมกับเวลา 10.บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทำให้นักศึกษาเรียนได้อย่างสนุก ค่าเฉลี่ยรวม X 4.37

ตารางสรุปผลการวิจัย ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นักศึกษากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่พึงพอใจมากที่สุดคือ การนำเสนอเนื้อหาบทเรียนมีความเหมาะสมกับเนื้อหา มีค่าเฉลี่ย 4.66 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจรวมทุกรายการ มีค่าเฉลี่ยรวม 4.37

สรุปผลการวิจัย ผลการทดลองหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้น เมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนด พบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 ซึ่งหมายความว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาษาไทยเพื่อการสื่อสารช่วยให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ หลังจากเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยสามารถทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังการเรียนรู้ได้ถูกต้องร้อยละ .05 ซึ่งเป็นข้อมูลสนับสนุนว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีประสิทธิภาพสามารถนำไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนได้ เพราะการนำเสนอบทเรียนในลักษณะนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาได้หลังการเรียนรู้