ครูปพิชญา คนยืน
สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 3
การ นำเสนอ ข้อมูล ในรูป ตาราง ตารางแสดง จำนวน ประชากรของ ประเทศไทย จากการสำ มะโนประชากร และ เคหะ ระหว่าง พ. ศ – 2543( ทุกสิบปี )
ครูปพิชญา คนยืน ปี จำนวนประชากรอัตรา เพิ่ม ( ร้อย ละ ) ชายหญิงรวม ,154,149 13,10 3,767 26,257, ,123,862 17,27 3,512 34,397, ,328,607 22,49 5,933 44,824, ,061,733 27,486,797 54,548, ,015,233 30,90 1,208 60,916,
ครูปพิชญา คนยืน ที่มา : รายงานสำมะโน ประชากรและการเคหะ พ. ศ พ. ศ พ. ศ และ พ. ศ.2543 สำนักงาน สถิติ สำนัก นายกรัฐมนตรี จากตารางจะเห็นว่า
ครูปพิชญา คนยืน นำเสนอข้อมูลได้ อย่างละเอียด ชัดเจน สามารถ อ่านจำนวนได้แน่น นอน โดยแยก ประเภทของข้อมูล เป็นจำนวน ประชากรเพศชาย - หญิง
ครูปพิชญา คนยืน และประชากรรวมมี การเปรียบเทียบ จำนวนประชากร แสดงอัตราการเกิด ของประชากรมีแนว โน้วลดลงอย่าง ต่อเนื่อง สอดคล้อง กับการรณรงค์ คุมกำเนิดในช่วงที่ ผ่านมา
ครูปพิชญา คนยืน ตาราง บอกอะไร ตารางแสดงจำนวน ครัวเรือนเกษตรและ เนื้อที่ถือครองทำ การเกษตร เฉลี่ยต่อ ครัวเรือน จำแนกตามภาค ปี 2536,2541,2546
ครูปพิชญา คนยืน ภาค จำนวนครัวเรือน เกษตร เนื้อที่เฉลี่ย ต่อครัวเรือน ( ไร่ ) ทั่ว ประเทศ 5,644, 708 5,577,261 5,787, กลาง 933, , , เหนือ 1,407, 652 1,306,959 1,366, ตะวันออกเฉีย งเหนือ 2,504, 939 2,589,322 2,639, ใต้ 798, , ,
ครูปพิชญา คนยืน ที่มา : สำนักงานสถิติ แห่งชาติ กระทรวง เทคโนโลยีและการ สื่อสาร จากตารางให้ นักเรียนตอบ คำถามต่อไปนี้
ครูปพิชญา คนยืน 1. ตารางแสดงข้อมูล อะไร ตารางแสดง จำนวนครัวเรือน เกษตรและเนื้อที่ถือ ครองทำการเกษตร เฉลี่ยต่อครัวเรือน ตอ บ
ครูปพิชญา คนยืน ขวัญข้าว ต้องการศึกษาว่า ครอบครัวของเขาต้อง เสียค่าโทรศัพท์ในแต่ ละเดือนมากน้อย เพียงใด เธอจึง รวบรวมใบแจ้งค่าใช้ บริการจดบันทึกข้อมูล จัดทำตารางแสดง ข้อมูล ตัวอ ย่าง
วิเคราะห์ และสรุปผล จากข้อมูลที่รวบรวมมา ได้ ดังต่อไปนี้ ตารางแสดงค่า โทรศัพท์ของ ครอบครัวขวัญข้าว ระหว่างเดือนม. ค. – มิ. ย. พ. ศ.2547
เดือนจำนวนเงิน ( บาท ) มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม 1, , ,188.24
ครูปพิชญา คนยืน เมษายน พฤษภาค ม มิถุนายน , รวม 6 เดือน 8,100.45
ครูปพิชญา คนยืน จากตัวอย่าง ใช้ ระเบียบทางสถิติ ของขวัญข้าวดังนี้ 1) ประเด็นที่สนใจจะ หาข้อมูล : ค่าโทรศัพท์ รายเดือน 2) แหล่งข้อมูล : ใบแจ้งค่า โทรศัพท์
ครูปพิชญา คนยืน 3) คำถามที่ใช้ : ค่าโทรศัพท์เดือน ละเท่าไร 4) วิธีการเก็บข้อมูล : จดบันทึกจาก เอกสาร 5) ลักษณะของ ข้อมูล : เป็นข้อมูลเชิง ปริมาณ
ครูปพิชญา คนยืน 6) การนำเสนอ ข้อมูล : นำเสนอข้อมูล ด้วยตาราง 7) การสรุปตีความ ข้อมูล : ในรอบ 6 เดือน ครอบครัวของเราจ่าย ค่าโทรศัพท์น้อยที่สุด เดือน
ครูปพิชญา คนยืน เม. ย. และสูงสุดเดือน ม. ค. แนวโน้มค่า โทรศัพท์ลดลงในช่วง ต้นปี กลับสูงอีกในเดือน มิ. ย. เกือบเป็น 2 เท่า ของเดือน พ. ค. โดยฉลี่ย ครอบครัวเราจ่ายค่า โทรศัพท์เดือนละ ประมาณ 1,350 บาท
8) การตัดสินใจ : ใช้โทรศัพท์ เท่าที่จำเป็น เพื่อลด รายจ่ายของ ครอบครัว
หน้า 81 ตารางบอก อะไร ตอบคำถาม จากข้อ การบ้าน
พบกันใหม่วัน พรุ่งนี้ เรื่อง สถิติ ( ต่อ )