การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ชื่อเรื่อง การใช้แนวการสอนพหุประสาทสัมผัสเพื่อส่งเสริมความสามารถทางการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวปวีณา.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 รายวิชาพิมพ์อังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ 1 โดยใช้โปรแกรม PIM 2001

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาพิมพ์อังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์1 ของนักศึกษาสาขาวิชาพณิชยการและการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ 1 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชาพณิชยการและการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ที่มีต่อการใช้โปรแกรม PIM 2001 2

กรอบแนวคิด ในการวิจัย 1 กรอบแนวคิด ในการวิจัย ตัวแปรต้น โปรแกรม PIM 2001 ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาพิมพ์อังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์1 2. ความพึงพอใจของนักศึกษา

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาสาขาวิชาพณิชยการและการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ปีการศึกษา 2553 จำนวน 130 คน นักศึกษาห้อง พณ.1102 จำนวน 32 คน ที่ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงประชากร

ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ 1 2 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้โปรแกรม PIM 2001 แบบบันทึกผลการทดสอบในการพิมพ์ โปรแกรมPIM 2001

สรุปผลการวิจัย 1. ผลการศึกษาพบว่าทดสอบก่อนการใช้โปรแกรม PIM 2001 ในสัปดาห์ที่ 1 และหลังการใช้โปรแกรม PIM 2001 ในสัปดาห์ที่ 16 จะเห็นได้ว่าก่อนใช้โปรแกรม PIM 2001นักศึกษามีความสามารถในการพิมพ์โดยเฉลี่ย 18 คำ/นาที ผลการทดสอบ ผ่านเกณฑ์ระดับต่ำ และหลังจากทดลองใช้โปรแกรม PIM 2001 นักศึกษามีความสามารถในการพิมพ์ดีขึ้นโดยเฉลี่ย 26 คำ/นาที ผลการทดสอบ ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก 2. ผลการศึกษาพบว่านักศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้โปรแกรม PIM 2001 ในการสอนรายวิชาพิมพ์อังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ทั้ง 4 ด้าน ดังนี้

สรุปผลการวิจัย ด้านจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม พบว่านักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมPIM 2001 ในการเรียนรายวิชา พิมพ์อังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ด้านจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก คือ ครอบคลุมถึงพฤติกรรมด้านความคิดความรู้สึกและความสามารถในการปฏิบัติ รองลงไปคือ มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ในหลักสูตร และมีความสอดคล้องกับเนื้อหาวิชา ด้านวิชาเนื้อหา พบว่านักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมPIM 2001 ในการเรียนรายวิชา พิมพ์อังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ด้านเนื้อหาวิชาโดยรวมอยู่ในระดับมาก คือเนื้อหาแต่ละครั้งเหมาะกับจำนวนคาบที่ใช้ รองลงไปคือ โปรแกรมมีการจัดลำดับความยากง่ายของเนื้อหาวิชา รองลงไปคือ สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาของหลักสูตรและเนื้อหาในแต่ละบทมีความน่าสนใจ

สรุปผลการวิจัย ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน พบว่านักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมPIM 2001 ในการเรียนรายวิชา พิมพ์อังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก คือ นักศึกษาสามารถฝึกปฏิบัติได้ด้วยตนเอง รองลงไปคือ แบบฝึกพิมพ์ในมีความสอดคล้องกับใบงาน รองลงไปคือ ลำดับเนื้อหาในแต่ละบทมีความเหมาะสมต่อการเรียนรู้และมีการเน้นกระบวนการทักษะการฝึกปฏิบัติ ด้านการวัดและการประเมินผล พบว่านักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้โปรแกรม PIM 2001 ในการเรียนรายวิชา พิมพ์อังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ 1 ด้านการวัดและการประเมินผลโดยรวมอยู่ในระดับมาก คือ เครื่องมือวัดสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม และวิธีการวัดเหมาะสมกับพฤติกรรมที่ต้องการวัด

ข้อเสนอแนะการวิจัย  ในการฝึกพิมพ์จากโปรแกรมสำเร็จรูปนั้นอาจจะเป็นเพียงการฝึกพิมพ์ที่ให้นักศึกษามีความถนัดเบื้องต้นเท่านั้น ผู้สอนอาจจะต้องหาใบงานเสริมเพื่อให้ผู้ฝึกพิมพ์สามารถพิมพ์ประโยคต่างๆ เพิ่มขึ้นได้  ถ้านักศึกษามีจำนวนเพิ่มมากขึ้นนักศึกษาอาจจะต้องหาวิธีการวัดแบบอื่นเพิ่มขึ้นได้  เวลาฝึกพิมพ์เพื่อบันทึกสถิตินั้น ผู้สอนอาจไม่จำเป็นต้องให้วัดจากโปรแกรมเพียงอย่างเดียว อาจจะให้นักศึกษาลองฝึกพิมพ์จาก Microsoft Word และคำนวณคำสุทธิด้วยตนเอง เพื่อให้นักศึกษาฝึกคิดการคำนวณคำสุทธิและคำระคน

ขอบคุณ!