ระบบยืนยันตัวตนแบบกึ่งศูนย์กลาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
E+M Commerce.
การเพิ่มประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการบริหารจัดการข้อมูล
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว
COE Electronic Voting System
การประยุกต์ใช้ Web VPN (SSL VPN)
เว็บเซอร์วิสเรียกง่าย
COE Electronic Voting System
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
รายละเอียดของการทำ Logbook
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
โครงการ LDAP เฟส 2 ผู้นำเสนอ นายมหาราช ทศศะ
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
NU. Library Online Purchasing System
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
Surachai Wachirahatthapong
Biometric ความหมายของเทคโนโลยี Biometric ความเป็นมาเกี่ยวกับ Biometric
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
เมนูเรื่องเทคโนโลยี.
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
แผนการพัฒนางานประปีงบประมาณ 2553
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
System Integration.
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ตารางสอบ O-NET ชั้น ป.6 วัน-เดือน-ปี เวลาสอบ รหัสวิชา วิชาที่สอบ
กิจกรรมที่ 17 เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 1. อธิบายหน้าที่เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 2. ใช้เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา จุดประสงค์ กิจกรรมที่
โปรแกรมระบบข้อมูลแจ้งเตือนภัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ อุบลราชธานี 2009.
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
โปรแกรมคำนวณอายุครรภ์และกำหนดวันคลอดบุตรบนโทรศัพท์มือถือ “เพร็ก-แคล” (PREG-CAL) อ.ดร. จันทกานต์ กาญจนเวทางค์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
บทบาทของคอมพิวเตอร์.
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
สุดยอดเทคโนโลยีรักษาปลอดภัย และการยืนยันตัวบุคคลกับการ ประยุกต์ใช้งานในรัฐสภา จัดทำโดย นางสาวขนิษฐา คำลือ คณะวิทยาศาสตร์ สาขานิติ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ระบบจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management System)
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบยืนยันตัวตนแบบกึ่งศูนย์กลาง หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โรงเรียนธีรภาดาเทคโนโลยี จังหวัด ร้อยเอ็ด http://www.teerapada.ac.th การพัฒนา ระบบยืนยันตัวตนแบบกึ่งศูนย์กลาง สำหรับ โรงเรียนธีรภาดาเทคโนโลยี Semi-Centralized Authentication for Teerapada Technology School

หลักการและเหตุผล

วัตถุประสงค์การศึกษาค้นคว้า 1 เพื่อออกแบบและพัฒนา ระบบยืนยันตัวตนแบบกึ่งศูนย์กลาง สำหรับโรงเรียนธีรภาดาเทคโนโลยี (Semi-Centralized Authentication for Teerapada Technology School) 2 เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบบริหารการจัดการบัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน ด้วยเทคโนโลยีไดเรคทอรี่เซอร์วิส (Directory Service) 3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ ระบบยืนยันตัวตนแบบกึ่งศูนย์กลาง สำหรับโรงเรียนธีรภาดาเทคโนโลยี

ข้อกำหนดความต้องการ

รูปแบบการบริหารจัดการระบบ

การพัฒนาโปรแกรมต้นแบบ Semi-Centralized Authentication for Teerapada Technology School by (AAA) Process Model : -การยืนยันตัวตน (Authentication) -การกำหนดสิทธิ์ (Authorization) -การตรวจสอบการใช้งาน (Accountability) Open Source Software : -Scrip Language PHP -OpenLDAP -Linux CentOS -Secure Sockets Layer (SSL) จะใช้ Digital Certificate ตรวจสอบ/เข้ารหัสในการติดต่อผ่าน LDAPS ด้วย OpenSSL -Hypertext Transfer Protocol over Secure Socket Layer : HTTPS -เข้ารหัสบัญชีผู้ใช้ด้วยอัลกอริทึม SHA1 Hashing -บริหารจัดการ LDAPs ผ่านทาง Web Browser ด้วย phpLDAPadmin

การกำหนดสิทธิและการเข้างานใช้ระบบ dc=teerapada dc=com ou=admin ou=user ou=AAA

การทดสอบระบบ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล รายการประเมิน x S.D. ระดับความพึงพอใจ 1. การออกแบบหน้าจอทันสมัย น่าสนใจ มีมาตรฐานเดียวกัน 4.12 0.63 มาก 2. การแบ่งการใช้งานเป็นหมวดหมู่ 3. สะดวกและง่ายต่อการใช้งาน 4. มีความรวดเร็วในเข้าถึงข้อมูล 4.09 0.62 5. การเข้าใช้งานระบบจากบัญชีผู้ใช้เพียงบัญชีเดียว 4.21 0.64 6. ความถูกต้องและความสมบูรณ์ของระบบ 3.92 0.65 7.การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลผู้ใช้งาน 4.16 0.61 8. สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการและการตัดสินใจ ช่วยแก้ปัญหาในงานตามหน้าที่ 3.97 0.77 9. สะดวกในการพัฒนาปรับปรุงระบบเพิ่มเติมในอนาคต 0.66 รวม 3.66 0.56 ข้อเสนอแนะ จำนวน ร้อยละ ควรมีคู่มือการใช้งานระบบให้ดาวน์โหลด 10 13.33 ควรนำมาปรับปรุงกับทุกระบบในโรงเรียน 8 10.67 ควรปรับปรุงให้ใช้การสแกนลายนิ้วมือร่วมกับรหัส 5 6.67 ควรนำมาปรับใช้กับบัตรประจำตัวที่เป็นบาร์โค้ด 2 2.67

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การนำเทคโนโลยี OpenSouce มาปรับใช้ในการพัฒนาระบบทำให้ลดค่าใช้จ่าย การบริหารการจัดการบัญชีผู้ใช้และรหัสผ่านมีความสะดวกและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น การบันทึก Log รองรับ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 การศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ พบว่า ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบยืนยันตัวตนแบบกึ่งศูนย์กลางฯ โดยรวมอยู่ในระดับมาก และรายข้ออยู่ในระดับมากทุกข้อ กล่าวได้ว่าสามารถนำไปเป็นต้นแบบการพัฒนาได้ เทคโนโลยีทันการยืนยันตัวตนในปัจจุบัน สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการยืนยันตัวตน ร่วมกับ LDAP ได้ คือ บัตรประจำตัวประชาชนแบบสมาร์ทการ์ด การตรวจสอบลายนิ้วมือ (Finger Scan) การตรวจสอบม่านตา (Iris Verification) และ Biometrics อื่นๆ เช่น การใช้บัตรสมาร์ทการ์ดคู่กับการตรวจสอบลายนิ้วมือ การใช้รหัสผ่านคู่กับการตรวจสอบลายนิ้วมือ เป็นต้น