บทที่ 10 การสื่อสารการตลาด หัวข้อเนื้อหา 1. ความหมายของการสื่อสารการตลาด 2. ตัวแบบกระบวนการสื่อสาร 3. ช่องทางการสื่อสาร 4. ส่วนประสมการสื่อสารการตลาด 5. การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
ความหมายของการสื่อสารการตลาด Arens (2006, p.IT12) แสดงทรรศนะไว้ว่า การสื่อสารการตลาด หมายถึงความพยายามอันหลากหลายและเครื่องมือต่าง ๆ ของธุรกิจที่จะรักษาการสื่อสารกับลูกค้าและผู้คาดหวัง โดยการใช้จดหมายเชิญชวน สื่อสิ่งพิมพ์ การเป็นผู้อุปถัมภ์ การประชาสัมพันธ์ การสื่อสารการตลาดทางโทรศัพท์ และคูปอง
ตัวแบบกระบวนการสื่อสาร ผู้ส่งสาร การ เข้ารหัส ข่าวสาร สื่อ การ ถอดรหัส ผู้รับสาร สิ่งรบกวน การย้อน ป้อนกลับ การตอบสนอง
ตัวแบบกระบวนการสื่อสาร (ต่อ) 1. ผู้ส่งสาร (Sender) 2. การเข้ารหัส (Encoding) 3. ข่าวสาร (Message) 4. สื่อหรือช่องทางส่งข่าวสาร (Media or communication channels) 5. การถอดรหัส (Decoding)
ตัวแบบกระบวนการสื่อสาร (ต่อ) 6. ผู้รับสาร (Receiver) 7. ปฏิกริยาตอบสนอง (Response) 8. ปฏิกริยาย้อนกลับ (Feedback) 9. สิ่งรบกวน (Noise)
ช่องทางการสื่อสาร 1. ช่องทางการสื่อสารที่ใช้บุคคล (Personal communication channels) 2. ช่องทางการสื่อสารที่ไม่ใช้บุคคล (Nonpersonal communications channels)
ส่วนประสมการสื่อสารการตลาด 1. การโฆษณา (Advertising) 2. การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) 3. การประชาสัมพันธ์และการให้ข่าว (Public relations and publicity) 4. การตลาดเชิงกิจกรรมและการตลาดประสบการณ์ (Event marketing and experience marketing)
ส่วนประสมการสื่อสารการตลาด (ต่อ) 5. การตลาดทางตรงและการตลาดโต้ตอบ (Direct and interactive marketing) 6. การขายโดยพนักงานขาย (Personal selling) 7. การสื่อสารแบบปากต่อปาก (Word-of-mouth communication: WOM)
สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ (Integrated marketing communication : IMC) หลักเกณฑ์พื้นฐาน 1. ต้องเริ่มต้นที่ลูกค้า 2. วางแผนจากภายนอกสู่ภายใน 3. สร้างประสบการณ์ให้ลูกค้าเป้าหมาย 4. เป้าหมายของลูกค้าคือวัตถุประสงค์ในการ ดำเนินงานของบริษัท
สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ (ต่อ) (Integrated marketing communication : IMC) หลักเกณฑ์พื้นฐาน (ต่อ) 5. ต้องการให้เกิดผลลัพธ์ด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับลูกค้า 6. ดูแลลูกค้าเหมือนทรัพย์สินที่มีค่า 7. สื่อเป็นได้ทั้งข่าวสารและสิ่งกระตุ้น 8. บูรณาการเครื่องมือแบบเดิมกับการสื่อสารแบบ อิเล็กทรอนิกส์