การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
By: Jirawat Promporn By: Jirawat Promporn Contact: TRAINING Dept. BOOK PROMOTION & SERVICE CO., LTD. Update Latest 23/04/51.
Advertisements

โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด 02/10/51.
Computer Science (ScienceDirect e-Book)
NetLibrary E-Books ฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ครอบคลุม 17 สาขาวิชา บอกรับตั้งแต่ปี ปัจจุบัน ในลักษณะ Consortium ร่วมกับ Thai University eBook.
1.ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Resources)
Education Research Complete
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
การใช้งานฐานข้อมูล Journal of Cosmetic Dermatology
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
คุณค่าของอินเตอร์เน็ต
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 30/03/50 โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล.
สอบรายวิชา การใช้ทรัพยากรห้องสมุด
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 22/05/51.
วิจัยสถาบัน...เรื่องไม่ง่ายแต่ทายท้า
กัญญากานต์ นนทิวัฒน์วณิช Thailand Country Manager EBSCO Publishing
User’s guide. Emerald Fulltext เป็นผลิตภัณฑ์ของสำนักพิมพ์ MCB University Pressเป็นผลิตภัณฑ์ของสำนักพิมพ์ MCB University Press ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1996.
1 โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์ แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุ่งล่าสุด 12/5/2009.
1 โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์ แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์
ภวัต เรืองยิ่ง แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การดำเนินงานด้านการบริการ
การจัดการบริการสารสนเทศ
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
CINAHL Plus with Fulltext
การใช้งานฐานข้อมูล Business Sources Complete
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Resources)
Single Search คืออะไร ? เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่ สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอนในการเข้าถึงสารสนเทศฉบับเต็ม ผู้รับบริการสืบค้นข้อมูลครั้งเดียว แต่ได้รับสารสนเทศที่ต้องการจากหลายๆ.
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
วิชา การสืบค้นสารสนเทศ ขั้นสูง ( Advanced Information Retrieval ) รหัสวิชา (2-2)
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อการสอน : เว็บไซต์สำนักวิทย บริการ สถาบันราชภัฏ อุตรดิตถ์ รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ.
สรุป Web of Science โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล Book Promotion & Service Co., Ltd. โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด สรุป ProQuest ABI/Inform จัดทำเมื่อ 10/11/51.
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
ฐานข้อมูล Science Direct
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
การพัฒนาระบบสารสนเทศ:องค์กรขนาดเล็ก
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ITกับโครงการ Food safety
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC
JSTOR ฐานข้อมูลวารสารฉบับย้อนหลัง ครอบ คลุมสหสาขาวิชา เช่น สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ ฯลฯ ให้ ข้อมูลบรรณานุกรมและเอกสารฉบับเต็ม.
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การใช้งานฐานข้อมูล Full Text โครงการให้บริการฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น (E-Journal) สำหรับกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย โดย.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
IngentaConnect.
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ขอบเขตของการพัฒนา ทรัพยากรสารสนเทศ การเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การประเมินคุณค่าทรัพยากร สารสนเทศ การศึกษาปริมาณของ ทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ 436 285 งานบริการเผยแพร่สารสนเทศ 4/9/2017 การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ บริการเผยแพร่สารสนเทศ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

ระดับงานบริการเผยแพร่สารสนเทศ ระดับต้น เตรียมหนังสืออ้างอิงและฐานข้อมูลสารสนเทศ บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าสำหรับคำตอบที่ไม่ซับซ้อน บริการชี้แนะผู้ใช้ไปยังแหล่งสารสนเทศที่ต้องการ แนะนำรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศและบริการพื้นฐาน แนะนำแหล่งสารสนเทศภายนอก จัดหาวารสารใหม่ๆ ตามคำร้องขอ มีความรอบรู้เกี่ยวกับแหล่งสารสนเทศในชุมชน

ระดับงานบริการเผยแพร่สารสนเทศ ระดับกลาง รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นรายงานวิจัย ทำการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการใช้ จัดเตรียมบริการบรรณานุกรม บริการสืบค้นสารสนเทศตามที่ผู้ใช้ร้องขอ บริการแจ้งรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศใหม่ให้แก่ผู้ใช้ มีความรอบรู้แหล่งสารสนเทศในสาขาเดียวกัน มีความร่วมมือระหว่างห้องสมุด

ระดับงานบริการเผยแพร่สารสนเทศ ระดับสูง รวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการผู้ใช้ และจัดทำสาระสังเขป ให้บริการรวบรวมบรรณานุกรม บริการสืบค้นสารสนเทศอย่างกว้างขวาง จัดทำสาระสังเขปทรัพยากรใหม่ในห้องสมุด บริการแปลบทความ จัดตั้งทีมงานผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้คำปรึกษาและสืบค้นสารสนเทศ ให้บริการข่าวสารทันสมัยแก่ผู้ใช้เฉพาะบุคคล รอบรู้แหล่งสารสนเทศ โดยเฉพาะสารสนเทศทีไม่มีการเผยแพร่

ลักษณะบริการสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะ 1. เน้นให้บริการในเชิงรุก มากกว่าให้บริการในเชิงรับ 2. เน้นบริการสารสนเทศที่ครอบคลุมทั้งในห้องสมุดของตนและจากแหล่งภายนอก

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ 1. บริการอ้างอิงหรือบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า (Reference Services) บริการอ้างอิงระดับพื้นฐาน บริการอ้างอิงในระดับลึก

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ 1. บริการอ้างอิงหรือบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า ลำดับขั้นตอนในการให้บริการอ้างอิง การสัมภาษณ์เพื่อสอบถามความต้องการของผู้ใช้ คัดเลือกและประเมินแหล่งสารสนเทศที่สามารถให้คำตอบได้ ดำเนินการค้นหา รวบรวมสารสนเทศที่ค้นได้ให้ครอบคลุมคำตอบ นำเสนอคำตอบ

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ 1. บริการอ้างอิงหรือบริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า การอ้างอิงอิเล็กทรอนิกส์ คำถาม/คำร้องขอ รับคำถาม/คำร้องขอ ส่งคำตอบ : e-Mail, Fax, Telephone, Instant message, Videoconference

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ 2. บริการข่าวสารทันสมัย (Current Awareness Services) 2.1 บริการหมุนเวียนวารสาร (Routing service) 2.2 บริการเผยแพร่สารสนเทศเฉพาะบุคคล (Selective Dissemination of Information : SDI) ความสำคัญของบริการ ทำให้ติดตามความก้าวหน้าในสาขาวิชาที่สนใจได้ทันเวลา ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการอ่านสารสนเทศทั้งหมด ทำให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อใช้ในการทำงาน

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ ขั้นตอนการให้บริการ SDI 1. รวบรวมข้อมูลผู้ใช้แต่ละคนใน User Profile 2. เปรียบเทียบความต้องการของผู้ใช้กับสารสนเทศใหม่ที่ได้รับเข้ามา 3. เมื่อพบรายการที่ต้องการให้ติดต่อผู้ใช้อย่างรวดเร็ว 4. ประเมินผลการให้บริการว่าตรงกับความต้องการหรือไม่

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ 2.3 บริการถ่ายสำเนาหน้าสารบัญวารสารฉบับใหม่ (Current content) 2.4 การจัดทำข่าวสารห้องสมุด (Library bulletin) 2.5 การติดตามสารสนเทศใหม่ของบริการสารสนเทศเชิงพาณิชย์

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ 3. บริการสืบค้นสารสนเทศจากแหล่งภายนอก 3.1 บุคคลหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา 3.2 ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศอื่น 3.3 การยืมระหว่างห้องสมุด 3.4 อินเทอร์เน็ต 3.5 สถาบันบริการฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ 3.6 บริการสารสนเทศที่จัดโดยนายหน้าค้าสารสนเทศ

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ 3.6 บริการสารสนเทศที่จัดโดยนายหน้าค้าสารสนเทศ ได้แก่ บริการจัดทำสาระสังเขป บริการข่าวสารทันสมัย บริการรวบรวมบรรณานุกรม บริการแปลเอกสาร บริการรวบรวมสารสนเทศเพื่อใช้ในการวิจัย บริการสืบค้นสารสนเทศ บริการจัดส่งเอกสารฉบับเต็ม

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ 3.7 บริการส่งเอกสาร (Document delivery services) คำร้องขอ อุปกรณ์ ขั้นตอนการจัดส่ง

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ 3.7 บริการส่งเอกสาร (Document delivery services) ตัวอย่างการจัดส่งเอกสารด้วยโปรแกรม ARIEL สแกนเอกสาร ส่งเอกสาร ผ่านอีเมล์ หรือ FTP เอกสารถึงผู้รับ โปรแกรมอื่นๆ เช่น Odyssey, ILLiad, Courier

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ 4. บริการอื่นๆ 4.1 บริการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ 4.2 บริการฝึกอบรมการสืบค้นฐานข้อมูล (User training) 4.3 บริการสาระสังเขป (Abstract) 4.4 บริการรวมรวมบรรณานุกรม 4.5 บริการสารสนเทศสำเร็จรูป (Repackaged information or Information Consolidation or Information Packaging )

ประเภทของบริการเผยแพร่สารสนเทศ 4. บริการอื่นๆ 4.6 บริการแปล (Translation) ทำได้ดังนี้ ติดต่อว่าจ้างบริษัทหรือหน่วยงานภายนอกที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการแปล บรรณารักษ์ทำหน้าที่แปลเอง การใช้บริการจากสถาบันที่ทำหน้าที่รวบรวมและให้บริการเอกสารงานแปล  4.7 บริการเอกสารจดหมายเหตุ (Archives)

วิธีส่งเสริมการใช้บริการสารสนเทศ 1. การจัดทำคู่มือห้องสมุด (Library brochures) 2. การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library orientation) 3. จัดนิทรรศการ 4. จัดกิจกรรม เช่น สัปดาห์ห้องสมุด