ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปประเด็นหารือ.
Advertisements

ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
โดย ผู้วิจัย นางพรศิริ อูปคำ สังกัด โรงเรียนลำปางพาณิชยการและเทคโนโลยี
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก The e-Learning Readiness of PhD. Nursing Students ดร. เจือจันทน์ วัฒกีเจริญ มหาวิทยาลัย.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางสาวเบญจนี สุคันธเมศวร์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน

ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การศึกษาองค์ประกอบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อใน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ นางสาวธัญศญา ธรรมิสกุล วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางศิริพร ไตรเนตร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง การใช้แนวการสอนพหุประสาทสัมผัสเพื่อส่งเสริมความสามารถทางการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวปวีณา.
Eastern College of Technology (E.TECH)

นางสาววรันธร ปรุงเรณู
นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนตัวอักษร จีนโดยใช้แบบฝึกการเขียนตามลำดับขีดของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ผู้วิจัย วิชชุดา โรจนสวัสดิ์วงศ์
ชื่อผลงานวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นายรัตนวุธ บุญเทียบ.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก

ปัญหาการวิจัย ปัจจุบันการศึกษาถือเป็นปัจจัยที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ เพราะการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญที่สุดที่จะช่วยพัฒนาคนในชาติให้มีความรู้ ความสามารถ การศึกษาเป็นกระบวนการที่ช่วยเพิ่มพูนความรู้ ความคิด ทักษะ และทัศนคติแก่ผู้เรียน การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษานับเป็นกลไกสำคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนากำลังคนของประเทศ จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาและปรับบทบาทเพื่อให้สามารถเป็นแหล่งผลิตกำลังคนที่มีคุณภาพควบคู่กับการเป็นแหล่งระดม แสวงหา สร้างเผยแพร่ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรี 2 ปี มีแรงจูงใจด้านใด ที่เป็น สิ่งสำคัญในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ ซึ่งเป็นสิ่งที่สถาบันควรให้ความสนใจ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการบริหารการศึกษา ให้มีความสอดคล้อง ทางด้านความต้องการของสังคม และความต้องการของผู้เรียน

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาแรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียน หลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจ 2. เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียน หลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต

กรอบแนวคิด ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม - เพศ แรงจูใจในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรี - สาขาวิชา - ด้านความคิดส่วนตัว - อาชีพของผู้ปกครอง - ด้านเศรษฐกิจ - รายได้ของครอบครัว - ด้านสังคม - ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้อง

ประชากร จำนวน 45 คน สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ประชากรตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักศึกษาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ ที่กำลังศึกษาอยู่ระดับชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 สาขาบัญชี จำนวน 70 คน สาขาการตลาด จำนวน 45 คน สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 64 คน รวมทั้งสิ้น 179 คน

สรุปผลการวิจัย แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณา ทุกด้านอยู่ในระดับมาก ข้อที่อยู่ในระดับมาก เป็นอันดับแรก คือ ด้านความคิดเห็นส่วนตัว รองลงมา คือ ด้านเศรษฐกิจ และด้านบุคคลที่เกี่ยวข้อตามลำดับ การเปรียบเทียบแรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต วิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ ศูนย์โรงเรียนเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ จำแนกตามเพศ โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ โดยที่มีระดับแรงจูงใจอยู่ในระดับมากเท่ากัน จำแนก ตามสาขาวิชาเอก

ภาพประกอบ (ถ้ามี)

จบการนำเสนอ