ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๘ ประชุมคณะกรรมการพัฒนาสตรี จังหวัดพิษณุโลก (กพสจ.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง “ทบทวนการสรรหาบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ”
Advertisements

การบริหารการจัดการประชุม ให้ประสบความสำเร็จ
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
อังคารที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๐ ณ โรงเรียนพุทธิวงศ์วิทยา วัดพระแก้ว
๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
การสั่งจองหนังสือรวมคำบรรยาย ภาคสอง สมัย ๖๖
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ยินดีต้อนรับสู่กิจกรรม
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
ระยะเวลาการประเมิน ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ. ศ. ๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ. ศ. ๒๕๕๔.
ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๓.๓๐ น. – ๑๖.๓๐ น.
ประสานงานสาธารณสุขระดับจังหวัดสงขลา
การประชุมกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ทร. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๒
การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)
โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
วัน พฤหัสบดี ที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๖
วัน จันทร์ ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
รายละเอียด แผ่น CD Folder 1 KM เอกสารชุดความรู้ สตน. ๒๕๕๓ รวม ๑๓ บท และ เอกสารอ้างอิง ( ๓๐๙ หน้า ) Folder 2 KM ชุดนำเสนอ ( Power Point.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ผลการตรวจสอบที่พักและรีสอร์ท ในเขตปฏิรูปที่ดิน
ศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม
โดย “กลุ่มที่ ๒... ฉลองชัย ”
คำอธิบายเกษตรหมู่บ้าน
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
สรุปกิจกรรมของผู้นำชุมชนตำบลวงฆ้อง อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
กิจกรรมเพิ่มผลผลิตสัตว์ น้ำ กลุ่มบริหารจัดการด้าน การประมง.
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การรับนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๖
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs)
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๙
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี พฤศจิกายน 2557 โรงแรมเรือนแพ รอยัลปาร์ค พิษณุโลก.
“ปรีชา....” มาเล่า.... สู่กันฟัง....
การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
การปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยทักษิณ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และระเบียบอื่นที่เกี่ยวเนื่อง นายธานินทร์ เงินถาวร งานบริการการศึกษา.
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ
๑. สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้รับเรื่องร้องเรียน ลงวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๑ กรณี บริษัทเอกชน ยื่นขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงโม่หินในเขต.
การประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ ของสำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี ครั้งที่ ๔ / ๒๕๕๑ วันอังคารที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๐. ๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น ๓ ตึก.
การประชุมคณะอนุกรรมการ
กลุ่มงานทันต สาธารณสุข และหน่วยบริการ แผนการปฏิบัติงาน หน่วยแพทย์ พอ.สว. ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ แผนการรับบริจาค โลหิต.
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
วัน จันทร์ ที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๗
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
ระเบียบวาระการประชุม ศปส.ทร. ณ ห้องประชุม สก.ทร. (ชั้น ๓)
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
การพัฒนาองค์กรสตรี กรมการพัฒนาชุมชน ดําเนินการ พัฒนาสตรีมาพร้อม ๆ กับการก่อตั้งกรมฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สตรี พัฒนาครอบครัว พัฒนาอาชีพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๘ ประชุมคณะกรรมการพัฒนาสตรี จังหวัดพิษณุโลก (กพสจ.) วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมสำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดพิษณุโลก

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ. ๑. ๑ …………………………………… ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ ๑.๑ …………………………………….. ………………………………………………………………… มติที่ประชุม ..................................................... ๑.๒ …………………………………….. ………………………………………………………………… มติที่ประชุม .....................................................

ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว การประชุมคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดพิษณุโลก ครั้งที่ ๔/๒๕๕๗ วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพิษณุโลก ตามเอกสารแนบ ๑ มติที่ประชุม .................................................................

ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องสืบเนื่อง ๓.๑ โครงการส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขอให้ กพสจ. และกพสอ. ได้สนับสนุนการดำเนินงานโครงการส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในหมู่บ้านเป้าหมาย อำเภอละ ๒ หมู่บ้าน อย่างต่อเนื่อง และเตรียมความพร้อม ในการคัดเลือกครอบครัวแข็งแรงฯ ดีเด่น อำเภอละ ๑ ครอบครัว มติที่ประชุม..................................................................................... ๓.๒ เงินบริจาค จากที่ปรึกษาคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดพิษณุโลก ตามที่ อดีต สว. พิกุลแก้ว ไกรฤกษ์ และอดีต สส. จุติ ไกรฤกษ์ ได้มอบเงินบริจาคให้คณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดพิษณุโลก (กพสจ.) จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ในโอกาสวันสตรีสากล จังหวัดพิษณุโลก ประจำปี ๒๕๕๖ นั้น ขอให้คณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดพิษณุโลก ได้เร่งรัดการดำเนินจัดทำโครงการดังกล่าว มติที่ประชุม...................................................................................

รายชื่อหมู่บ้านเป้าหมายโครงการส่งเสริมครอบครัวแข็งแรง เพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ อำเภอ หมู่บ้านเป้าหมาย ๑ เมืองพิษณุโลก ม.๖ ต.งิ้วงาม ม.๓ ต.บึงพระ ๒ นครไทย ม.๒ ต.บ้านพร้าว ม. ต.นาบัว ๓ ชาติตระการ ม.๑ ต.บ่อภาค ม.๓ ต.ท่าสะแก ๔ บางระกำ ม.๔ ต.คุยม่วง ม.๑๓ ต.บางระกำ ๕ บางกระทุ่ม ม.๖ ต.บ้านไร่ ม.๕ ต.ไผ่ล้อม ๖ พรหมพิราม ม.๗ ต.พรหมพิราม ม.๙ ต.วงฆ้อง ๗ วัดโบสถ์ ม.๓ ต.บ้านยาง ม.๙ ต.หินลาด ๘ วังทอง ม.๓ ต.ดินทอง ม.๑๐ ต.วังพิกุล ๙ เนินมะปราง ม.๑๑ ต.บ้านน้อยซุ้มขี้เหล็ก ม.๒ ต.วังโพรง

ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อทราบ ๔.๑ การประชุมคณะกรรมการพัฒนาสตรีภาคเหนือ (กพสภ.) คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาคเหนือ (กพสภ.) จัดประชุมฯ เมื่อวันที่ ๒๒ – ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมมีพรสวรรค์ แกรนด์ โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร โดยมีนางชุตินันท์ เครือสุข นางอัมพร ตรีลพ นางภิฬารัตน์ สีหะวงษ์ เข้าร่วมประชุมฯ มติที่ประชุม..................................................................................... ๔.๒ ........................................................................................ ................................................................................................................................ มติที่ประชุม ....................................................................................................

ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องเพื่อพิจารณา ๕.๑ วาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดพิษณุโลก (กพสจ.) แนวทางการคัดเลือกคณะกรรมการพัฒนาสตรี ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. ๒๕๓๘ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๒ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ กำหนดแนวทางการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งและการหมดวาระของคณะกรรมการพัฒนาสตรี มติที่ประชุม.....................................................................................

ในวาระแรก กำหนดให้มีการคัดเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการทุกคณะทุกระดับพร้อมกัน และเพื่อมิให้มีผลกระทบต่อคณะกรรมการพัฒนาสตรีที่เพิ่งคัดเลือกใหม่ ในปี ๒๕๕๖ ให้การแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาสตรีทุกระดับดำเนินการ ดังนี้ ๑) ให้วาระการดำรงตำแหน่งคณะกรรมการพัฒนาสตรีทุกระดับพร้อมกันทั่วประเทศในอีกสี่ปีข้างหน้า โดยให้วาระการดำรงตำแหน่งเริ่มนับ ตั้งแต่ วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ และหมดวาระ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ ๒)ในช่วงก่อนถึงวาระการดำรงตำแหน่งตามที่กำหนด ๑) คณะกรรมการชุดใด หมดวาระให้รักษาการไปพลางก่อน และให้มีมติของที่ประชุมให้ความเห็นชอบไว้ด้วย ๓) ให้สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดและอำเภอ ชี้แจงคณะกรรมการพัฒนาสตรีทุกระดับในจังหวัดเพื่อสร้างความเข้าใจ เกิดการยอมรับ และนำไปสู่การปฏิบัติ

ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องเพื่อพิจารณา (ต่อ) ๕.๒ การจัดงานวันสตรีสากล จังหวัดพิษณุโลก ประจำปี ๒๕๕๘ ๑) รูปแบบการจัดกิจกรรมภายในงาน ๒) กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ๓) หน่วยงานภาคี ๔) งบประมาณ มติที่ประชุม............................................................

ระเบียบวาระที่ ๖ เรื่องอื่น ๆ ๖.๑ ................................................................ มติที่ประชุม...................................................................................