ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
อาจารย์นริสรา คลองขุด
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสื่อประสมสอน ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ นายชูชีพ ขาวเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีนีร ชาบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์ ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2/3 วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์ ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์

1. ปัญหาของการวิจัย จากประสบการณ์การสอนที่ผ่านมา พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ขาดความรู้ การคิดวิเคราะห์ ซึ่งเป็นผลให้นักเรียน นักศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ

2. วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด (Mind Mapping)

3. กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม (Independent Variables) (Dependent Variables) การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด (Mind Mapping) 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่อวิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น 2.ความคงทนในการจำ

4. วิธีการดำเนินงานวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร คือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2/3 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์ จำนวน 38 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2/3 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์ จำนวน 19 คน ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่ายมาเป็นกลุ่มทดลอง

4. วิธีการดำเนินงานวิจัย (ต่อ) 2. เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล 2.1 แผนการจัดการเรียนรู้ 2.2 แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด 2.3 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.4 แบบสังเกตการทํางาน

5. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน ตารางที่ 5.1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด การทดสอบ N คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน S.D t Sig กลุ่มควบคุม 19 10.11 17.47 3.89 -3.050 .004 กลุ่มทดลอง 9.95 20.68 2.43 จากตารางที่ 5.1 พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด สูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

5. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนมาแล้ว 2 สัปดาห์ ตารางที่ 5.2 ผลการเปรียบเทียบความคงทนในการจำของผู้เรียนหลังเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 มาแล้ว 2 สัปดาห์ การทดสอบ N คะแนนเฉลี่ย หลังเรียน คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนมาแล้ว 2 สัปดาห์ S.D t Sig กลุ่มควบคุม 19 17.47 14.37 3.35 -3.41 .002 กลุ่มทดลอง 20.68 2.18 จากตาราง 5.2 พบว่าผลการเปรียบเทียบความคงทนในการจำของผู้เรียนหลังเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 มาแล้ว 2 สัปดาห์ ต่อวิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด สูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

6. สรุปผลการวิจัย (1) พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด เมื่อพิจารณาจากการทำแบบทดสอบหลังเรียนปรากฏว่า ค่าของคะแนนเฉลี่ยสูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ผลสัมฤทธิ์จากการทำแบบทดสอบหลังจากที่นักเรียน เรียนวิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้นผ่านมาแล้ว 2 สัปดาห์ โดยใช้เทคนิคการสอนด้วยแบบฝึกหัดแผนที่ความคิด พบว่านักเรียนมีความคงทนในการจำสูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ 7. ผลงานนักเรียน จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ