แนวทางการทำงานวิจัยจากงานประจำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
แนวทางการกำหนดกรอบอัตรากำลัง 4 ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ
การจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประจำปีงบประมาณ
รายงานการวิจัย.
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง
ส่วนการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
Management Information Systems
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
เป็นการย้ายข้าราชการไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิม
สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
นายโกสน เพชรรักษ์ นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การเขียนรายงานการวิจัย
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเขียนข้อเสนอโครงการ
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่ ก.พ. กำหนด
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการทำงานวิจัยจากงานประจำ เสถียร คามีศักดิ์ บุคลากรเชี่ยวชาญ

การเลือกเรื่องที่จะทำงานวิจัย 1.เมื่อมีปัญหา 2.มีข้อสงสัย 3.อยากรู้/อยากเห็น/อยากทราบ 4.เจ้านายสั่ง

การเลือกเรื่องที่จะทำงานวิจัย 1.งานในหน้าที่ 2.งานที่ตนมีความชำนาญเชี่ยวชาญ 3.เป็นเรื่องที่ตนสนใจ 4.เรื่องที่หาข้อมูลได้สะดวก ทันสมัย 5. ประโยชน์ หน้าที่ หน่วยงาน สถาบัน 6.ขอบเขตไม่กว้าง แคบจนเกินไป 7.เวลา ต้องมั่นใจว่ามีเวลาพอ

การเลือกเรื่องทำงานวิจัยจากงานประจำ 1.รายงานประจำปี 2. รายงานการประชุม 3. ข้อร้องเรียน 4. การประชุมสัมมนา การระดมสมอง 5. ผลตรวจประกันคุณภาพ

ลักษณะงานของสายสนับสนุนวิชาการ ด้านปฏิบัติการ-เอกสาร-เครื่องใช้สำนักงาน/ห้องทดลอง ด้านบริการ-คน-สิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการประสานงาน-คน ด้านการวางแผน-วางแผน-ร่วมว่างแผน –ปฏิบัติตามแผน ด้านการเงินและพัสดุ ด้านกิจการนักศึกษา-นิสิตนักศึกษา

ลักษณะงานของสายสนับสนุนวิชาการ เกี่ยวกับบุคลากร เกี่ยวกับนิสิตนักศึกษา เกี่ยวกับอาคารสถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ เกี่ยวกับการเงินและพัสดุ เกี่ยวกับการเรียนด้านหลักสูตร เกี่ยวกับเทคโนโลยีต่างๆ เกี่ยวกับเครื่องมือ อุปกรณ์ในการทดลอง ประดิษฐ์ เกี่ยวกับการบริหารงาน

ต.วิชีพเฉพาะ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ นักกายภาพบำบัด ทันตแพทย์ พยาบาล แพทย์ สัตวแพทย์ นักเทคนิคการแพทย์ เภสัชกร นักรังสีการแพทย์ นักกิจกรรมบำบัด นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย วิศวกรเครื่องกล วิศวกรไฟฟ้า วิศวกรโยธา วิศวกรโลหการ วิศวกรการเกษตร วิศวกรเคมี สถาปนิก

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1.หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการ ตามทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2.หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินข้าราชการ สาย ข.และ สาย ค. เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี ในมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 3.การศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการกำหนดตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ของข้าราชการและพนักงานสายสนับสนุนวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน: 1 เกิดจากพบปัญหา 1.กระบวนการพิจารณาล่าช้า 2.มีข้อขัดแย้งระหว่างผู้อ่านและผู้เสนอ 3.แบบประเมินผลงานต่าง ๆไม่เป็นระบบเดียวกัน

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 4.ไม่มีการศึกษาทัศนะของข้าราชการอย่างจริงจังว่าหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการที่ยึดถือปฏิบัติมีความเหมาะสมหรือไม่ 5. มศว กระจายอยู่ทั้งส่วนกลางและภูมิภาค ตำแหน่งทางการบริหาร ประสบการณ์ และตำแหน่งทางวิชาการต่างกัน

*เอาปัญหาที่พบมากำหนดเป็นเรื่องวิจัย* ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 *เอาปัญหาที่พบมากำหนดเป็นเรื่องวิจัย* หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการ ตามทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ตั้งจุดมุ่งหมาย –มีผู้เกี่ยวข้อง -ผู้บริหาร-คณาจารย์ เพื่อศึกษาทัศนของผู้บริหารและคณาจารย์ที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินงานทางวิชาการ ใน มศว เพื่อเปรียบเทียบทัศนะระหว่างผู้บริหารและคณาจารย์ที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธี การประเมินผลงานทางวิชาการ ใน มศว

ผู้เกี่ยวข้อง วิทยาเขตส่วนกลาง/ภูมิภาค ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ผู้เกี่ยวข้อง วิทยาเขตส่วนกลาง/ภูมิภาค 3.เพื่อเปรียบเทียบทัศนะระหว่างผู้สังกัดวิทยาเขตส่วนกลางและวิทยาเขตส่วนภูมิภาคที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธี การประเมินผลงานทางวิชาการ ใน มศว

ผู้เกี่ยวข้อง ประสบการณ์การทำงาน ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ผู้เกี่ยวข้อง ประสบการณ์การทำงาน 4.เพื่อเปรียบเทียบทัศนะระหว่างผู้ที่มีประสบการณ์การทำงานที่ต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธี การประเมินผลงานทางวิชาการ ใน มศว

ผู้เกี่ยวข้อง ตำแหน่งทางวิชาการ ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ผู้เกี่ยวข้อง ตำแหน่งทางวิชาการ 5.เพื่อเปรียบเทียบทัศนะระหว่างผู้ที่มีตำแหน่งทางวิชาการต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธี การประเมินผลงานทางวิชาการ ใน มศว

ผู้เกี่ยวข้อง วุฒิการศึกษา ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ผู้เกี่ยวข้อง วุฒิการศึกษา 6.เพื่อเปรียบเทียบทัศนะระหว่างผู้ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธี การประเมินผลงานทางวิชาการ ใน มศว

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 1 ตัวแปรอิสระ 1.ตำแหน่ง 1.1 ผู้บริหาร 1.2 คณาจารย์ 2.ประสบการณ์การทำงาน 2.1 ตั้งแต่ 1 ปี – 10 ปี 2.2 มากกว่า 10 ปีขึ้นไป

ตัวแปรอิสระ 3.วิทยาเขต 3.1 วิทยาเขตส่วนกลาง 3.2 วิทยาเขตส่วนภูมิภาค 4. วุฒิการศึกษา 4.1 ปริญญาตรี 4.2 ปริญญาโท 4.3 ปริญญาเอก

ทัศนะที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการ ตัวแปรอิสระ 5.ตำแหน่งทางวิชาการ 5.1 อาจารย์ 5.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 5.3 รองศาสตราจารย์ 5.4 ศาสตราจารย์ ตัวแปรตาม ทัศนะที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการ

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1.หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานทางวิชาการของทบวงมหาวิทยาลัย 2.การประเมินผลงานทางวิชาการในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ (มหิดล-เกษตร-ธรรมศาสตร์-รามคำแหง) 3.การประเมินเพื่อเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการในต่างประเทศ (อินเดีย-อเมริกา-อังกฤษ)

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4.การประเมินผลงานทางวิชาการในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 5.สิ่งที่ควรคำนึงในการประเมินผล 6.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า 1.แบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2.แบบสอบถามแบ่งเป็นสองด้าน คือด้านหลักเกณฑ์ และด้านวิธีการประเมิน 3.ใช้ ค่าเฉลี่ย t-test และ F-test

วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า แบบสอบถามออกแบบดังนี้ ด้านหลักเกณฑ์ จำนวน 30 ข้อ ด้านวิธีการประเมิน จำนวน 75 ข้อ ปลายเปิดให้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไข หากเห็นว่ามีปัญหา (หาค่าความถี่)

วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า 4.เกณฑ์ประเมินตามแนวของเบสต์รายข้อ 1.00-1.49 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 1.50-2.49 ไม่เห็นด้วย 2.50-3.49 ไม่แน่ใจ 3.50-4.49 เห็นด้วย 4.50-5.00 เห็นด้วยอย่างยิ่ง

วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า 5.เกณฑ์ประเมินตามแนวของเบสต์รายด้าน 3.68-5.00 เห็นด้วยมาก 2.34-3.67 เห็นด้วยปานกลาง 1.00-2.33 เห็นด้วยน้อย

วิธีการเปรียบเทียบ 1.เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ ที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการใช้ t-test 2.เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ที่สังกัดวิทยาเขนส่วนกลาง และวิทยาเขตภูมิภาคที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการ ใช้ t-test

วิธีการเปรียบเทียบ 3.เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ ที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธีการใช้ t-test 4.เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธีการ ใช้ F-test

วิธีการเปรียบเทียบ 5.เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างทัศนะของผู้บริหารและคณาจารย์ ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน ต่อหลักเกณฑ์และวิธีการใช้ F-test และq-statistic ตรวจสอบความแตกต่าง

ตัวอย่างการออกแบบตาราง รายด้าน ผู้บริหาร คณาจารย์ X S หลักเกณฑ์การประเมินผลงานทางวิชาการ วิธีการประเมินผลงานทางวิชาการ 3.65 3.76 1.03 0.95 3.60 3.72 1.20 1.10 ค่าคะแนนเฉลี่ยรวม

ตัวอย่างการออกแบบตาราง ทัศนะของการประเมินผลงานทางวิชาการ N X S t ด้านหลักเกณฑ์การประเมิน ผู้บริหาร คณาจารย์ ด้านวิธีการประเมิน 128 270 109.57 107.94 285.07 282.67 10.26 13.75 21.70 27.96 1.1983 0.8571

ตัวอย่างการออกแบบตาราง แหล่งความแปรปรวน df SS MS F ระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่ม 2 267 9668.00 200584.00 4834.00 751.25 6.4346* รวม 269 210252.00

ตัวอย่างการออกแบบตาราง วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก X 274.93 281.90 297.55 297.53 - 6.97 22.60* 15.63*

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:2 ไม่ใช่มาจากปัญหา ก.ม.มีมติให้ความเห็นชอบในการปรับปรุงแบบการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย โดยมีแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยได้เอง ให้สอดคล้องกับภารกิจของมหาวิทยาลัย (ที่ ทม 0202/5212 ลงวันที่ 5 มีนาคม 2539)

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:2 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินข้าราชการ สาย ข.และ สาย ค. เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี ในมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:2 ความมุ่งหมาย 1. เพื่อศึกษาความเห็นต่อหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินข้าราชการ สาย ข. และสาย ค. เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี ใน มศว 2.เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์การประเมินข้าราชการสาย ข. และสาย ค.เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปีใน มศว

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:2 ผู้เกี่ยวข้อง สาย ข /สาย ค 3.เพื่อกำหนดวิธีการประเมินข้าราชการสาย ข. และสาย ค.เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปีใน มศว 4.เพื่อสร้างแบบฟอร์มการประเมินข้าราชการสาย ข. สาย ค. เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปีใน มศว

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1.ความหมายของการประเมิน 2.วัตถุประสงค์ของการประเมิน 3.หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน 4.กระบวนการประเมิน 5.สิ่งที่ควรคำนึงในการประเมิน 6.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

วิธีดำเนินการวิจัย 1.ใช้เทคนิคเดลฟาย ในการวิจัย 2.รอบที่หนึ่ง ศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาสร้างแบบสอบถามโดยให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ในลักษณะเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย พร้อมทั้งคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็นในการตอบแบบอิสระ และผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามไปทดลองใช้กับข้าราชการใน มศว จำนวน 60 แล้วนำมาปรับปรุงแก้ไข

การสร้างแบบสอบถาม 1.แบบการประเมินผู้บังคับบัญชา และ ผู้ปฏิบัติงาน 2.สอบถาม ** สาย ข. สาย ค. **สังกัดกอง สังกัดสำนักงาน เลขา รร.สาธิต **วุฒิการศึกษา ต่ำว่าตรี-ป.ตรี-สูงกว่าตรี **ประสบการณ์ ต่ำกว่า 5 มากกว่า 5-10 มากกว่า 10-15 มากกว่า 15 ปีขึ้นไป

วิธีดำเนินการวิจัย 2.รอบสอง นำแบบสอบถามที่ปรับปรุงใหม่แล้ว ไปสอบถามสาย ข. จำนวน 168 สาย ค.จำนวน 340 โดยให้เลือกตอบว่าเห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วย พร้อมทั้งคำถามปลายเปิดให้ผู้ตอบแสดงความเห็นอย่างอิสระ

วิธีดำเนินการวิจัย 3.รอบสามทำการสังเคราะห์ในรอบที่ สอง สร้างแบบสอบถามเป็นมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ เหมาะสมอย่างยิ่ง เหมาะสมมาก เหมาะสมน้อย ไม่เหมาะสม แล้วนำแบบสอบถามไปให้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 13 คน ตอบแบบสอบถาม ในรอบนี้ใช้การวิเคราะห์ ค่ามัธยฐาน 5 ระดับว่าเหมาะสมหรือไม่เหมาะสม แล้วหาค่าความสอดคล้องกันของคำตอบ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล นำแบบสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ เลือกค่าที่เหมาะสมและสอดคล้องกัน มากำหนดเป็นหลักเกณฑ์และกำหนดเป็นวิธีการประเมิน และสร้างแบบฟอร์มการประเมินข้าราชการสาย ข. สาย ค. เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี ในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

เกณฑ์ความเหมาะสม ค่ามัธยฐาน 5 เหมาะสมอย่างยิ่ง ค่ามัธยฐาน 4 เหมาะสมมาก ค่ามัธยฐาน 3 เหมาะสมปานกลาง ค่ามัธยฐาน 2 เหมาะสมน้อย ค่ามัธยฐาน 1 ไม่เหมาะสม

เกณฑ์ความสอดคล้อง I.R 0.1-0.99 คำตอบมีความสอดคล้องสูงมาก 0.1-0.99 คำตอบมีความสอดคล้องสูงมาก 1.00-1.99 คำตอบมีความสอดคล้องกันสูง 2.00-2.99 คำตอบมีความสอดคล้องกันต่ำ 3.00ขึ้นไป คำตอบไม่มีความสอดคล้องกัน

ตัวอย่างงานวิจัยสถาบัน 3ชำนาญการเชี่ยวชาญ การกำหนดกรอบตำแหน่ง การนับเวลาการปฏิบัติงานเมื่อเปลี่ยนตำแหน่ง การได้รับเงินเดือนอยู่ก่อนวันเริ่มต้นปีงปม ไม่ได้กำหนดผลงานว่ามีลักษณะอย่างไร

ตัวอย่างงานวิจัยสถาบัน 3 5. การใช้วิชาชีพบริการสังคมไม่ได้ระบุชัดเจนว่าภายในหรือภายนอกอย่างไร 6. การไม่ได้กำหนดระยะเวลาในการปรับปรุงแก้ไขผลงาน 7.ปัญหาการมาประชุมร่วมกันของผู้อ่านผลงาน 8.การไม่ได้กำหนดบทลงโทษและการอุทธรณ์

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน 3.การศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการกำหนดตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ของข้าราชการและพนักงานสายสนับสนุนวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3 ผู้เกี่ยวข้อง ผู้บริหาร-ข้าราชการ-พนักงาน เพื่อศึกษาความเห็นของผู้บริหาร ข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3 2.เพื่อเปรียบเทียบความเห็นระหว่างผู้บริหาร กับข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3 ผู้เกี่ยวข้อง ประสบการณ์ วุฒิการศึกษา 3.เพื่อเปรียบเทียบความเห็นของข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการที่มีประสบการณ์ต่างกัน และวุฒิต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3 ผู้เกี่ยวข้อง ตำแหน่ง 4.เพื่อเปรียบเทียบความเห็นของข้าราชการ ที่มีระดับ และดำรงตำแหน่งต่างกันต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาการดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3 5.เพื่อให้ได้หลักเกณฑ์และวิธีการกลางในการพิจารณาการดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ

ตัวอย่างวิจัยสถาบัน:3 ตัวแปรอิสระ 1.ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง 1.1 อธิการบดี/รองอธิการบดี/คณบดี/ผอ.สำนัก/สถาบัน/ศูนย์หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า 1.2 ผู้ช่วยอธิการบดี/รองคณบดี/รองผอ.สำนัก/สถาบัน/ศูนย์/หน.ภาค/หน.สาขาหรือตำแหน่งที่เทียบเท่า

1.3หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี/ผู้อำนวยการกอง/เลขานุการคณะ/สำนัก/สถาบัน/ศูนย์ /หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้ากลุ่ม/หัวหน้างาน/หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า 2.กรณีไม่ใช่ผู้บริหารตามข้อ 1 ปัจจุบันเป็น 2.1 ข้าราชการ 2.2 พนักงานมหาวิทยาลัย

3.ประสบการณ์การทำงาน 3.1น้อยกว่า 5 ปี 3.2 ตั้งแต่ 5 – 10 ปี 3.3 ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป – 15 ปี 3.4 มากว่า 15 ปี

4. วุฒิการศึกษาสูงสุดของท่าน 4.1 ต่ำกว่าอนุปริญญา 4.2 อนุปริญญา 4.3 ปริญญาตรี 4.4 ปริญญาโท 4.5 ปริญญาเอก

5.ท่านดำรงตำแหน่งระดับ(เฉพาะข้าราชการ) 5.1 ระดับ 4 5.2 ระดับ 5 5.3 ระดับ 6 5.4 ระดับ 7 ขึ้นไป

6.ท่านดำรงตำแหน่ง ชำนาญการ/เชี่ยวชาญ(เฉพาะข้าราชการ) 6.1 ผู้ชำนาญการระดับ 6 6.2 ผู้ชำนาญการระดับ 7-8 6.3 ผู้เชี่ยวชาญระดับ 9 6.4 ผู้ชำนาญการพิเศษระดับ 9 6.5 ผู้เชี่ยวชาญพิเศษระดับ 10 6.6 ผู้ชำนาญการพิเศษระดับ 10

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1.การกำหนดกรอบตำแหน่ง 2.คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง 3.ผลงานทีแสดงความเป็นผู้ชำนาญการ 4.การเผยแพร่ผลงาน 5.การใช้วิชาชีพบริการต่อสังคมและความยอมรับนับถือในวงวิชาชีพ 6.วิธีการพิจารณาตัดสิน

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 7.ภาระงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ 8.การลงโทษและการอุทธรณ์ 9.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า 1.แบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2.แบบสอบถามแบ่งเป็น 8 ด้าน 3.ใช้ ค่าเฉลี่ย t-test และ F-test

การสร้างแบบสอบถาม แบบสอบถามแบ่งเป็น 8 ด้าน การกำหนดกรอบ 15 ข้อ คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง 13 ข้อ ผลงาน 7 ข้อ การเผยแพร่ 8 ข้อ การใช้วิชาชีพบริการ 8 ข้อ วิธีการพิจารณาตัดสิน 10 ข้อ

การสร้างแบบสอบถาม ภาระงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ 4 ข้อ การลงโทษและการอุทธรณ์ 7 ข้อ

การวิเคราะห์ข้อมูล .เกณฑ์ประเมินตามแนวของเบสต์ 1.00-1.49 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 1.50-2.49 ไม่เห็นด้วย 2.50-3.49 ไม่แน่ใจ 3.50-4.49 เห็นด้วย 4.50-5.00 เห็นด้วยอย่างยิ่ง

การวิเคราะห์ข้อมูล 1.เปรียบเทียบความเห็นระหว่างผู้บริหาร ข้าราชการ และพนักงานที่มีต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณา 2.เปรียบเทียบความเห็นของข้าราชการ และพนักงาน ที่มีประสบการณ์ต่างกัน และวุฒิต่างกัน ต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณา ใช้ F-test

การวิเคราะห์ข้อมูล 3.เปรียบเทียบความเห็นของข้าราชการ ที่มีระดับต่างกัน และตำแหน่งต่างกัน ต่อหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณา ใช้ F-test

การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และอภิปรายผล ยกร่าง หลักเกณฑ์และวิธีการกลางในการพิจารณากำดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญ และผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ของข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา ใน 8 ด้าน ทำในนาม ปขมท และให้ทุกมหาวิทยาลัยนำไปวิเคราะห์ อภิปรายผล ของแต่ละมหาวิทยาลัยกันเองอีก คนละเล่ม

สวัสดี ขอบคุณ