คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง การวัดและประเมินผล ตามแนวทางของ PISA ดร. ผดุงชัย ภู่พัฒน์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ(Programme for International Student Assessment) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยองค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ OECD (Organization for Economic Co-operation and development)
จุดมุ่งหมายของ PISA ตรวจสอบว่าเยาวชนวัยจบการศึกษาหรือ วัยอายุ 15 ปี ของประเทศต่างๆ มีศักยภาพหรือความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่เพียงใด
ปี 2555 เวียดนามกับมาเลเซีย เข้าร่วมโครงการด้วย ผลการประเมิน PISA อยู่ในระดับที่ยังไม่น่าพึงพอใจ ปี 2555 เวียดนามกับมาเลเซีย เข้าร่วมโครงการด้วย
ผลกระทบของการสอบ PISA 1. ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของประเทศไทย 2. ใช้เป็นเกณฑ์หนึ่งในการจัดลำดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3. ใช้เป็นเกณฑ์หนึ่งในการพิจารณาความน่าลงทุน
นโยบายส่งเสริมให้โรงเรียนจัดกิจกรรม การเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนากระบวน การคิดและกระบวนการแก้ปัญหาให้มากขึ้น ใช้เป็นตัวบ่งชี้ความสำเร็จของการจัดการศึกษา
ปี 2561 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ (ผลการสอบ PISA)
ความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับ การเรียนรู้ตลอดชีวิตและเป็นตัวชี้วัด ศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ได้แก่การรู้เรื่อง (Literacy) 3 ด้าน 1. การอ่าน 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 8
รูปแบบของข้อสอบ 1. แบบเลือกตอบ 2. เขียนตอบ 3. เลือกตอบแบบเชิงซ้อนหรือคำถามหลายคำถามต่อเนื่องกัน(Complex multiple-choice)
ส ส สวัสดี วั วั ส ส ดี ดี