นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิจัยประเภทการเรียนการสอน

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
จัดทำโดย นางสาวสุชาภา นรพัลลภ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ

ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
อาจารย์นริสรา คลองขุด
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
เทคโนโลยีสื่อประสมสอน ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ นายชูชีพ ขาวเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีนีร ชาบริหารธุรกิจ.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้น ปวส. 2/2 โดยใช้สื่อประสมวิชาปฏิบัติการโปรแกรมกราฟิกแอนิเมชั่น นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ

ปัญหาการวิจัย ในการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติการโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก แอนิเมชั่นนั้นเป็นการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS5 ซึ่งมีคุณสมบัติสามารถผลิตสื่อ Animation แบบ 2d หรือแบบ2 มิติ และแบบ 3ก หรือแบบ 3 มิติ ได้ ซึ่งปัญหาที่พบใน การจัดการเรียนการสอนคือ การใช้เครื่องมือต่างๆ ซึ่งในโปรแกรมมีเครื่องมือที่หลากหลายและการใช้งานที่ต่างกัน ซึ่งเป็นอุปสรรค์ในการ จัดการเรียนการสอน จึงได้เกิดแนวคิดในการสร้างสื่อประสม เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถเข้าใจรูปแบบและวิธีการใช้เครื่องมือ อย่างง่ายได้

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาปฏิบัติการโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกแอนิเมชั่นโดยใช้สื่อประสม

กรอบแนวคิดงานวิจัย สื่อประสม วิชาปฏิบัติการโปรแกรมกราฟิกแอนิเมชั่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการใส่ลูกเล่นให้ตัวอักษรในโปรแกรม Adobe Flash CS5 สื่อประสม วิชาปฏิบัติการโปรแกรมกราฟิกแอนิเมชั่น

ตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ก่อนเรียนและหลังเรียน จากตาราง 1 ผลคะแนนการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่าคะแนนสอบของนักเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน

ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนปฏิบัติการโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกแอนิเมชั่น จากตาราง 2 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 ห้อง 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ก่อนการเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 17.80 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 6.66 ส่วนหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 30.57 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.20 แสดงว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนโดยใช้สื่อประสม และเมื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่าค่า t ที่ได้จากการคำนวณมากกว่าค่า t วิกฤต (9.05 > 1.72) หมายความว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยสื่อประสมวิชาปฏิบัติการโปรแกรมกราฟิกแอนิเมชั่น สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05

สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น ปวส.2/2 โดยใช้สื่อประสมวิชา ปฏิบัติการโปรแกรมกราฟิกแอนิเมชั่นสามารถสรุปผลดังนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรีนของผู้เรียนโดยใช้สื่อประสม หลังเรียน สูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตรงตามสมมติฐานที่ตั้งไว้

ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยครั้งนี้ สามารถนำผลวิจัยที่ได้มาวางแผนด้านการสอน โดยมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ควรมีการจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจในการใช้สื่อประสม เพื่อให้สื่อประสมมีความน่าเชื่อถือและทราบถึงความพึงพอใจของ นักเรียนที่มีต่อสื่อประสมเพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาสื่อประสม ต่อไป 2. สามารถพัฒนาสื่อประสมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น หรือทำเป็น CAI หรือสื่อการเรียนการสอนอิเล็คทรอนิกส์ต่อไป

จบการนำเสนอ