นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางพรทิพย์ วิริยะโพธิการ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
นางสาววราภรณ์ ว่องนัยรัตน์ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย นางสาวอาภรณ์ เทียนทอง สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เรื่อง การบันทึกรายการซื้อขายสินค้าในสมุดรายวันทั่วไป โดยวิธี ใช้แบบฝึก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย การศึกษาผลการสอนหลักธรรมโดยใช้เรื่องสั้น ในรายวิชามนุษยสัมพันธ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

ปัญหาการวิจัย ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ นักเรียนทุกสาขา ต้องเรียนวิชามนุษยสัมพันธ์ซึ่งเป็นวิชาที่มีหลักธรรม คำสั่งสอนตามแนวทางพุทธศาสนา สอดแทรกให้นักเรียนได้นำไปใช้เป็นแนวทางประพฤติปฏิบัติ และพัฒนาตนเองให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี โดยหลักธรรมต่าง ๆ นั้น เป็นภาษาบาลีมีความหมายที่ยากแก่การเข้าใจและจดจำ ดังนั้น ผู้สอนจึงหาวิธีการสอนรูปแบบต่าง ๆ ให้นักเรียน ได้เรียนรู้ เข้าใจความหมายในหลักธรรม และสามารถนำไปใช้ เป็นแนวทางการดำเนินชีวิตประจำวันได้ โดยการนำเรื่องสั้นที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการกระทำ การแสดงออกการแก้ปัญหาชีวิตโดยสอดแทรกหลักธรรม ข้อคิดในแง่ต่าง ๆ ให้นักเรียนได้เรียนรู้ เข้าใจและจดจำได้มากขึ้น

กรอบแนวคิดในการวิจัย วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการสอนหลักธรรมโดยใช้เรื่องสั้น ในรายวิชามนุษยสัมพันธ์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น วิธีการสอนโดยใช้เรื่องสั้น ตัวแปรตาม ความรู้เกี่ยวกับหลักธรรม

สมมติฐานของการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับชั้น ปวช. 3 ที่เข้ารับการสอนโดยใช้เรื่องสั้นมีความรู้เกี่ยวกับหลักธรรมมากขึ้น กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้น ปวช. 3 ห้อง CA01 CA02 CA03 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย จำนวน 98 คน

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล 1. เรื่องสั้นจำนวน 2 ชุด ชุดละ 2 เรื่อง ดังนี้ ชุดที่ 1 เรื่อง คำสอนของนกอินทรีย์ และธรรมดาที่ไม่ธรรมดา ชุดที่ 2 เรื่องพ่อ และขนมคุกกี้ 2. ใบบันทึกการส่งงาน

การรวบรวมข้อมูล 1. ครูสอนโดยการบรรยายหลักธรรมแล้วให้นักเรียนเขียนหลักธรรมที่ตนเองรู้จักเป็นหลักธรรมประจำใจ โดยให้แปลความหมายและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตัวนักเรียนเองลงในสมุดจดงาน 2. นำหลักธรรมที่นักเรียนแต่ละคนเขียนมารวบรวม ตรวจสอบความถูกต้อง ความเข้าใจ และการนำไปใช้ 3. ดำเนินการสอนเพิ่มเติมหลักธรรมต่างๆ ให้นักเรียนเข้าใจความหมายของคำศัพท์ จากนั้นแจกเอกสารชุดที่ 1 เรื่องคำสอนของนกอินทรีย์และธรรมดาที่ไม่ธรรมดา ให้นักเรียนอ่านและตอบคำถาม โดยนำหลักธรรมมาใช้ในการแก้ปัญหาและให้ข้อคิดต่าง ๆ 4. นำแบบฝึกหัดที่นักเรียนทำหลังจากอ่านเรื่องสั้นชุดที่ 1 มาตรวจรวบรวมแล้วจึงดำเนินการแจกเอกสารชุดที่ 2 พ่อและขนมคุกกี้ ให้นักเรียนอ่านและตอบคำถาม โดยนำหลักธรรมมาใช้ในการแก้ปัญหาและให้ข้อคิดต่าง ๆ 5. นำแบบฝึกหัดที่นักเรียนทำ หลังจากอ่านเรื่องสั้น ชุดที่ 2 มาตรวจและรวบรวมผล 6. นำผลการเขียนหลักธรรมของนักเรียนแต่ละครั้งมาเปรียบเทียบจำนวน โดยคิดค่าเป็นร้อยละ

สถิติที่ใช้ในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลดำเนินการ ดังนี้ พิจารณา หลักธรรมต่าง ๆ ที่นักเรียนเขียนตอบในสมุดจดงาน และแบบฝึกหัดแนบท้ายเรื่องสั้นทั้ง 2 ชุดมานับจำนวน หาค่าร้อยละ

การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ผลจากการรวบรวมผลงานของนักเรียน พบว่านักเรียน เรียนรู้ เข้าใจ และสามารถนำหลักธรรมไปใช้เป็นข้อคิดในชีวิตประจำวันได้มากขึ้น จากการเปรียบเทียบโดยการนับจำนวนทั้ง 3 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 จำนวนหลักธรรม ร้อลละ ร้อยละ 2-3 12.24 4-5 22.45 5 ขึ้นไป 20.41 1 67.35 13.06 44.90 24.49 26.53 8.16

สรุปผลการวิจัย ของ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 การวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการศึกษาผลการสอนหลักธรรมโดยใช้เรื่องสั้น ในรายวิชามนุษยสัมพันธ์ ของ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนทุกคนเรียนรู้ เข้าใจ และสามารถเขียนหลักธรรม ได้เป็นจำนวนมากขึ้น