รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร Saylor and Alexander เสนอ ผศ. ดร.จุฬามาศ จันทร์ศรีสุคต โดย นางศรีสุฎา ชิณโน สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
แหล่งศึกษาความรู้ ฟุ้งศรี ภักดีสุวรรณ. (2550). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมอาชีพจักสานเชิงธุรกิจโดยยึดชุมชนเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (อาชีวศึกษา) สาขาวิชาอาชีวศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ภานุวัฒน์ บุตรเรียง. (2555). การพัฒนาหลักสูตร อบรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะไอซีทีสาหรับ ผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์ชุมชนจังหวัดนครนายก. วิจัย. กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 75 หน้า. สุธี วรประดิษฐ. (2556). รูปแบบและกระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น. สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2556, จาก http://trat.nfe.go.th/trat/topic5_old.php?page=4
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร Saylor and Alexander
Saylor and Alexander 1 กำหนดจุดมุ่งหมาย และขอบเขตของหลักสูตร เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย และขอบเขต จะถูกคัดเลือกจากการพิจารณา ตัวแปรภายนอก ได้แก่ ทัศนะและความต้องการของสังคม ข้อบังคับทางกฎหมายของรัฐ ผลการวิจัย ปรัชญาทางการศึกษา
Saylor and Alexander 2 ออกแบบหลักสูตร เลือกและจัดเนื้อหาสาระที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร เลือกประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับเนื้อหาสาระ ที่ได้เลือกมาแล้ว
Saylor and Alexander 3 การนำหลักสูตรไปใช้/การใช้หลักสูตร โดยครูเลือกวิธีการสอน และสื่อการเรียนรู้ เพื่อจัดทำแผนการสอน ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ตามเป้าหมาย
Saylor and Alexander 4 ประเมินผลหลักสูตร เพื่อตรวจสอบว่าหลักสูตรบรรลุเป้าหมายหรือจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ การประเมินควรเน้นที่ ตัวหลักสูตร คุณภาพของการสอน พฤติกรรมทางการเรียนรู้ของผู้เรียน
Thank You!