การใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตรกรรม จังหวัดปทุมธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

ทฤษฎีใหม่.
เศรษฐกิจ พอเพียง.
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
วิสัยทัศน์ (Vision) สำนักงานประมงจังหวัดน่าน ปี พ. ศ จังหวัดน่านมีสัตว์น้ำเพียงพอต่อการบริโภค ยุทธศาสตร์ 1 ด้านการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ยุทธศาสตร์
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
แผนยุทธศาสตร์สำนักงานประมงจังหวัดปทุมธานี
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ในประเทศไทย
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
แผนที่ตำบลหนองไฮ อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ครอบคลุมพื้นที่ 33 จังหวัด 20 โรงงาน จังหวัด..จัดการ..อย่างไร
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
3 September องค์กร เกษตรกร การผลิต ปัจจัยพื้นฐา น - ดิน - น้ำ - แรงงาน ปัจจัยการผลิต - พันธุ์ - เทคโนโลยี การใส่ปุ๋ย การป้องกันโรค.
การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพภาคเหนือ ปี
ปัจจัยที่ประสบความสำเร็จ
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
งานการปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร และ งานโครงการช่วยเหลือเยียวยา โดย ฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา.
สำนักงานเกษตรจังหวัดขอนแก่น
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว ปี 2553
MRCF การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการไถระเบิดดินดาน
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนพฤศจิกายน2557
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
ผลการดำเนินงานตามระบบ MRCF อำเภอบึงนารางจังหวัดพิจิตร ปี 2557 การพัฒนาตามนโยบายและ แนวทางการส่งเสริมการเกษตร MRCF ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของสำนักงานเกษตรอำเภอบึงนาราง.
การใช้ MRCF เพื่อพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชน ตำบลบางกะไห นางสาวยุวดี ฮวดวิเศษ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ.
ทิศเหนือติดต่อกับ ตำบลพิตเพียน อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ติดต่อกับตำบลเจ้าปลุก อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันออกติดต่อกับอำเภอดอนพุด.
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2558
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ Project Feasibility
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลหนองข่า อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย อัมพร เหง้ากอก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตรกรรม จังหวัดปทุมธานี สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดปทุมธานี

ความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินในการปลูกพืชเศรษฐกิจ การซ้อนทับข้อมูล ขอบเขตความเหมาะสมชุดดิน สภาพการใช้ที่ดินของพืชปัจจุบัน เขตความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ S1 เหมาะสมสูง S2 เหมาะสมปานกลาง S3 เหมาะสมเล็กน้อย N ไม่เหมาะสม สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดปทุมธานี

การจัดการด้านพื้นที่ตามเขตเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ เพื่อให้มีการบริหารจัดการด้านการผลิตให้เพียงพอกับอุปสงค์-อุปทาน ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการ เพิ่มพื้นที่ปลูก/เพิ่มการจัดการที่ดีในบริเวณที่เหมาะสม (S1+S2) ผลผลิตล้นตลาด/ราคาตกต่ำ ลดพื้นที่ปลูกบริเวณที่ไม่เหมาะสม (S3,N) วิเคราะห์ทัศนคติ/ความต้องการของเกษตรกร เกษตรกรยอมรับ เปลี่ยนชนิดพืชที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เปลี่ยนรูปแบบการใช้ที่ดิน (ปศุสัตว์ ประมง พืชพลังงาน) เพิ่มเทคโนโลยี และถ่ายทอดองค์ความรู้ เกษตรกรไม่ยอมรับ ปรับปรุงบำรุงดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการจัดการที่ดี สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดปทุมธานี

การจัดการด้านพื้นที่ตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจ (ข้าว) จ.ปทุมธานี ผลผลิตล้นตลาด/ราคาตกต่ำ ลดพื้นที่ปลูกบริเวณที่ไม่เหมาะสม (S3,N) ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการ เพิ่มพื้นที่ปลูก/เพิ่มการจัดการที่ดีในบริเวณที่เหมาะสม (S1+S2) พื้นที่เหมาะสมในบริเวณที่มีการปลูกข้าว ชั้นความเหมาะสมของดิน เนื้อที่ (ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย(กก./ไร่) พื้นที่ปลูก (ไร่) 623,980 S1 เหมาะสมสูง S2 เหมาะสมปานกลาง 444,098 152,865 732 S3 เหมาะสมเล็กน้อย N ไม่เหมาะสม 13,224 13,793 สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดปทุมธานี

แนวทางประสานกับจังหวัด เพื่อวางแผนการผลิต เขตเหมาะสม สำหรับพืชเศรษฐกิจ ความต้องการของจังหวัด (ความต้องการบริโภค/ความต้องการตลาด) การวางแผนการผลิตระดับจังหวัด เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในเขตเหมาะสม (S1+S2) - ถ่ายทอดองค์ความรู้ - ลดต้นทุน - เพิ่มรายได้ ปรับเปลี่ยนระบบการผลิต (S3,N) - ปรับเปลี่ยนชนิดพืช/พืชพลังงาน - เปลี่ยนเป็นพื้นที่เลี้ยงสัตว์/เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โครงการของจังหวัด สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดปทุมธานี

ข้อมูลพื้นฐานของจังหวัด พื้นที่จังหวัด 955,535 ไร่ พื้นที่รับน้ำชลประทาน 855,520 ไร่ เมือง ลาดหลุมแก้ว สามโคก คลองหลวง หนองเสือ ธัญบุรี ลำลูกกา สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดปทุมธานี

ผลผลิตข้าวนาปี นาปรังปี 2555 พื้นที่ปลูกข้าวนาปี 319,959 ไร่ พื้นที่ปลูกข้าวนาปรัง 328,758 ไร่ ผลผลิตรวม 447,211 ตันต่อปี เมือง ลาดหลุมแก้ว สามโคก คลองหลวง หนองเสือ ธัญบุรี ลำลูกกา จำนวนโรงสี 10 โรง (ในคก.รับจำนำ) แหล่งแปรรูปข้าว 12 แห่ง กำลังการผลิตรวม 2,120 ตัน (ตาม รง.4) การผลิตจริง 2,360 ตัน ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดปทุมธานี พื้นที่ ZONING จำนวน 623,980 ไร่ พื้นที่ LANDUSE จำนวน 336,925 ไร่ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดปทุมธานี

พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) ข้าว Zoning Landuse ชนิดพืช มาก ปานกลาง น้อย ไม่เหมาะสม ข้าว 444,098 ชนิดพืช พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) ข้าว 336,925 152,865 13,224 13,793 รวมพื้นที่ 623,980 ไร่ ที่มา: สถานีพัฒนาที่ดินปทุมธานี

ภาพแสดงพื้นที่เหมาะสมมาก S1 กับ พื้นที่ปลูกจริง ชนิดพืช S1 ปลูกจริง ข้าว 444,098 ไร่ 268,208 ไร่ เมือง ลาดหลุมแก้ว สามโคก คลองหลวง หนองเสือ ธัญบุรี ลำลูกกา ที่มา: สถานีพัฒนาที่ดินปทุมธานี

ภาพแสดงพื้นที่เหมาะสมปานกลาง S2 กับ พื้นที่ปลูกจริง ชนิดพืช S2 ปลูกจริง ข้าว 152,865 ไร่ 56,639 ไร่ เมือง ลาดหลุมแก้ว สามโคก คลองหลวง หนองเสือ ธัญบุรี ลำลูกกา ที่มา: สถานีพัฒนาที่ดินปทุมธานี

ภาพแสดงพื้นที่เหมาะสมน้อย S3 กับ พื้นที่ปลูกจริง ชนิดพืช S3 ปลูกจริง ข้าว 13,224 ไร่ 9,240 ไร่ เมือง ลาดหลุมแก้ว สามโคก คลองหลวง หนองเสือ ธัญบุรี ลำลูกกา ที่มา: สถานีพัฒนาที่ดินปทุมธานี

ภาพแสดงพื้นที่ไม่เหมาะสม N กับ พื้นที่ปลูกจริง ชนิดพืช N ปลูกจริง ข้าว 13,793 ไร่ 2,838 ไร่ เมือง ลาดหลุมแก้ว สามโคก คลองหลวง หนองเสือ ธัญบุรี ลำลูกกา ที่มา: สถานีพัฒนาที่ดินปทุมธานี

ปาล์มน้ำมัน พื้นที่อำเภอหนองเสือ Zoning Landuse พื้นที่ปลูก S2 25,322 ไร่ 7,797 ไร่ รวม พื้นที่ปลูกใน 2 ตำบล คือ ตำบลศาลาครุ ตำบลหนองสามวัง ที่มา: สถานีพัฒนาที่ดินปทุมธานี

ยางพารา พื้นที่อำเภอหนองเสือ ชนิดพืช ยางพารา S2 138 ไร่ N 30,228 ไร่ พื้นที่ปลูก ที่มา: สถานีพัฒนาที่ดินปทุมธานี

จบการนำเสนอ