เรื่อง ความพึงพอใจของสถานศึกษาต่อ คุณสมบัติที่พึงประสงค์ของ ผู้สำเร็จ การศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ ชื่อผู้วิจัย นางสาว เยาวลักษณ์ ดีเหลือ ตำแหน่ง อาจารย์ประจำ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นักศึกษาไม่กล้าที่จะแสดงความคิดและแสวงหา ความรู้ใหม่ มาพัฒนาตัวเอง พัฒนางาน
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของสถานศึกษาที่มีต่อคุณสมบัติ ที่พึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษาที่เข้าศึกษาต่อ
ระดับปวช. ลำดับที่สาขาวิชา ด้านที่ 1 ด้าน คุณลักษณะ ที่พึ่งประสงค์ ด้านที่ 2 ด้าน สมรรถนะ หลักและ สมรรถนะ ทั่วไป ด้านที่ 3 ด้าน สมรรถนะ วิชาชีพ รวม ค่าเฉลี่ย 1 บัญชี คอมพิวเตอร์ การขาย โรงแรม ค่าเฉลี่ยรวม
จากตารางของระดับปวช. แสดงให้เห็นว่า ค่าเฉลี่ยสถานศึกษามีความพึงพอใจกับ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะ ทั่วไป และด้านสมรรถนะด้านวิชาชีพของ ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ ทั้ง 3 ด้าน โดยจำแนกเป็นสาขาวิชาในระดับปวช. ของผู้ตอบแบบสอบถาม ด้านที่มีค่าสูงสุด คือด้านที่ 3 ด้านสมรรถนะวิชาชีพ มีค่าเฉลี่ย รวม 4.34 รองลงมาคือด้านที่ 1 ด้าน คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ มีค่าเฉลี่ยรวม 4.29 และในด้านที่ 2 ด้านสมรรถนะหลักและ สมรรถนะทั่วไปเป็นลำดับสุดท้ายมีค่าเฉลี่ย ต่ำสุดคือ 4.25
ลำดับที่สาขาวิชา ด้านที่ 1 ด้าน คุณลักษณ ะที่พึ่ง ประสงค์ ด้านที่ 2 ด้าน สมรรถนะ หลักและ สมรรถนะ ทั่วไป ด้านที่ 3 ด้าน สมรรถ นะ วิชาชีพ รวม ค่าเฉลี่ย 1 การตลาด การบัญชี คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การจัดการ การโรงแรม การจัดการการ ขนส่ง ค่าเฉลี่ยรวม
จากตารางที่ แสดงให้เห็นว่าค่าเฉลี่ย สถานศึกษามีความพึงพอใจกับคุณลักษณะ อัน พึงประสงค์ ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้าน สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และ ด้านสมรรถนะด้านวิชาชีพของผู้สำเร็จการศึกษาใน ระดับประกาศนียบัตรวิชาวิชีพชั้นสูง ของโรงเรียน วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ ทั้ง 3 ด้าน โดยจำแนกเป็นสาขาวิชาใน ระดับปวส. ของ ผู้ตอบแบบสอบถาม ด้านที่มีค่าสูงสุดคือด้านที่ 1 ด้านคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์มีค่าเฉลี่ยรวม 4.14 รองลงมาคือด้านที่ 2 ด้านสมรรถนะหลักและ สมรรถนะทั่วไปมีค่าเฉลี่ยรวม 4.11 และ ในด้านที่ 3 ด้านสมรรถนะวิชาชีพเป็นลำดับสุดท้าย มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ 4.05
1. ผลที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้จะช่วยพัฒนาการ ดำเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นที่พึงพอใจ ของ ผู้รับบริการ 2. เป็นแนวทางสำหรับผู้บริหารในการพัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้เป็นที่พึง ประสงค์ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง