ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
Advertisements

ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย นายถนอมศักดิ์ บุญแฟง
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
บทความวิจัย เรื่อง การศึกษาจริยธรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาวสุฑารัตน์ ตั้งถาวร โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
ผู้วิจัย นางสาวอาภรณ์ เทียนทอง สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)

ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ความพึงพอใจของสถานประกอบการ ที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักศึกษาฝึกงาน ปวส.1 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก.
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง ศึกษาความพึงพอใจคุณลักษณะครูผู้สอนที่พึงประสงค์ของนักศึกษาห้อง กบ.201 ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต บทความวิจัย

ในปัจจุบันนี้ความคาดหวังของสังคม และบุคลากรหลายระดับที่หวังให้ครูมีบทบาทหน้าที่สำคัญและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อเป็นแบบอย่าง และเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาประเทศและพัฒนาพลเมืองของชาติให้มีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมอารยะประเทศทั้งทาง ด้านคุณธรรม ความรู้ และความสามารถต่าง ๆ แต่ก็ยังมีครูบางคนที่พยายามประพฤติ ปฏิบัติตนผิดวินัย จรรยาบรรณของครูที่ดี เป็นที่เสื่อมเสียต่อสถาบันวิชาชีพครูเป็นอย่างมาก ผู้วิจัยสนใจและต้องการทราบความคิดเห็นและความต้องการของนักเรียน ว่าครูผู้สอนที่พึงประสงค์ควรมีคุณลักษณะอย่างไร ปัญหาการวิจัย

เพื่อทราบถึงคุณลักษณะครูผู้สอนที่พึงประสงค์ตามทัศนะของนักศึกษา วัตถุประสงค์

ตารางหรือผังสรุปสำคัญ เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล ประชากรในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ห้องกบ.201 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล แบบสอบถามเกี่ยวกับ คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ตามทัศนะของนักศึกษาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง โดยผู้วิจัยได้กำหนดคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ไว้ทั้งหมด 5 ด้าน แบบสอบถามมี 25 ข้อ มีลักษณะเป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ คะแนนเรียงตามลำดับจนถึงต่ำสุดคือ 1 คะแนน นำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้องและความเที่ยงตรงของเนื้อหา เพื่อให้แน่ใจว่าได้สอบถามตรงกับประเด็นที่ต้องการศึกษา

กรอบแนวความคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของครู 5 ด้าน คือ 1. ด้านการสอน ได้แก่ การใช้สื่อการสอนของครู วิธีการสอน 2. ด้านวิชาการ ได้แก่ ความรู้ของครู การวัดผล 3. ด้านมนุษยสัมพันธ์ ได้แก่ การปฏิบัติตัวของครูต่อนักศึกษา 4. ด้านสุขภาพกายและจิต ได้แก่ สุขภาพของครู และการควบคุมอารมณ์ของครู 5. ด้านบุคลิกลักษณะ ได้แก่ การแต่งกายและการวางตัวของครู ตัวแปรตาม ความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีต่อคุณลักษณะของครูที่ พึงประสงค์

คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ในการศึกษาวิจัย “ศึกษาความพึงพอใจคุณลักษณะครูผู้สอนที่พึงประสงค์ของนักศึกษาห้อง กบ.201” สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต เป็นการสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงคุณลักษณะครูผู้สอนที่พึงประสงค์ตามทัศนะของนักศึกษา ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นในการวางแผนปรับปรุงพฤติกรรมของผู้สอนทั้ง 5 ด้าน สามารถสรุปได้ดังนี้   คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ ค่าเฉลี่ย ระดับ คุณลักษณะ ลำดับ 1. ด้านการสอน 4.72 มากที่สุด 1 2. ด้านวิชาการ 4.28 มาก 4 3. ด้านมนุษยสัมพันธ์ 4.37 3 4. ด้านสุขภาพกายและจิต 4.43 2 5. ด้านบุคลิกลักษณะ 4.27 5 รวม 4.41  

สรุปผลการวิจัย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้พบว่า ความพึงพอใจคุณลักษณะครูผู้สอนที่พึงประสงค์ของนักศึกษาห้อง กบ.201 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ปีการศึกษา 2556 ด้านการสอน อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านสุขภาพกายและจิต ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านวิชาการ ด้านบุคลิกลักษณะ อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ เป็นรายข้อในแต่ละด้าน พบว่า 1. ด้านการสอน นักศึกษามีระดับความพึงพอใจ ครูเข้าสอนตรงเวลาและครูนำผู้เรียนไปเรียนนอกห้องเรียนเพื่อให้เห็นของจริง เป็นอันดับที่ 1 2. ด้านวิชาการ นักศึกษามีระดับความพึงพอใจ ครูให้ผู้เรียนมีการศึกษาค้นคว้าทางเว๊บไซด์ เป็นอันดับที่ 1 3. ด้านมนุษยสัมพันธ์ นักศึกษามีระดับความพึงพอใจ ครูพูดจาสุภาพกับผู้เรียน เป็นอันดับที่ 1 4. ด้านสุขภาพกายและจิต นักศึกษามีระดับความพึงพอใจ ครูใจเย็นไม่โกรธง่าย เป็นอันดับที่ 1 5. ด้านบุคลิกลักษณะ นักศึกษามีระดับความพึงพอใจ ครูว่องไว กระฉับกระเฉง เป็นอันดับที่ 1

ข้อเสนอแนะ ควรนำผลการวิจัยครั้งนี้ไปจัดทำโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนในวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพและคุณค่าสูงขึ้นกว่าเดิม

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ