สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
Advertisements

ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กับการสร้างหน่วยการเรียนรู้
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
หน่วยที่ 4.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การออกแบบการเรียนรู้อย่างไรให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
แผนการจัดการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
หน่วยการเรียนรู้ คืออะไร
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
สรุปเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักการพัฒนา หลักสูตร
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ (Theme)
“Backward” Unit Design?
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
คู่มือการใช้การเขียนเรียงความ โดยใช้โปรแกรม PowerPoint
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
หน่วย การเรียนรู้.
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การเขียนแผนแบบUBD.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
(Competency Based Curriculum)
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3 องค์ประกอบที่ 1 Backward Design โดย สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3

แกรนท์ วิกกินส์ (Grant Wiggins) เจย์ แม็คไทค์ (Jay McTighe) ที่มาของการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) สร้างรูปแบบการเรียนรู้ โดย แกรนท์ วิกกินส์ (Grant Wiggins) เจย์ แม็คไทค์ (Jay McTighe) ปี 1998

ความหมายการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) กระบวนการออกแบบการเรียนรู้ที่ย้อนกลับ โดยเริ่มจากเป้าหมายการเรียนรู้ที่พึงประสงค์ จากนั้นจึงออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน มีความสามารถตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

ขั้นตอนการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) การกำหนดเป้าหมายที่พึงประสงค์ (Identify desired results) การกำหนดหลักฐานที่แสดงว่าผู้เรียน ได้บรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ (Determine acceptable evidence) การวางแผนประสบการณ์การเรียนรู้ และการสอน (Plan Learning Experiences and instruction)

ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมายที่พึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ความเข้าใจที่คงทน ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา ทักษะคร่อมวิชา จิตพิสัย

ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดหลักฐานของการเรียนรู้ที่ยอมรับได้ ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดหลักฐานของการเรียนรู้ที่ยอมรับได้ ภาระงานและการประเมิน การตรวจสอบความเข้าใจอย่างไม่เป็นทางการ การให้โจทย์ หรือประเด็นปัญหาให้นักเรียนไปขบคิด การสังเกต หรือพูดคุย การทดสอบ การลงมือปฏิบัติ/โครงงาน

*หมายเหตุ จะประเมินอะไรบ้างให้กำหนดไว้ในช่องการประเมินแต่ละช่อง เป้าหมาย วิธีการประเมิน แบบที่ 1 แบบที่ 2 แบบที่ 3 แบบที่ 4 แบบที่ 5 แบบที่ 6 1. ความเข้าใจที่คงทน 2. ความรู้ทักษะ เฉพาะวิชา 3. ทักษะคร่อมวิชา 4. จิตพิสัย *หมายเหตุ จะประเมินอะไรบ้างให้กำหนดไว้ในช่องการประเมินแต่ละช่อง

กระบวนการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนประสบการณ์การเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนประสบการณ์การเรียนรู้ และการสอน กระบวนการเรียนรู้ การวัดและ การประเมิน กิจกรรม สื่อ/แหล่งเรียนรู้ เวลา/ชั่วโมง แบบประเมิน 1. ความเข้าใจที่ คงทน 2. ความรู้ทักษะ เฉพาะวิชา 3. ทักษะคร่อม วิชา 4. จิตพิสัย 1.ชื่อ....................... 2.ชื่อ....................... 3.ชื่อ....................... 4.ชื่อ....................... Rubric -เอกสารประกอบ การเรียน -ใบงาน อุปกรณ์ การทดลอง

คำถาม 3 ข้อ ขั้นที่ 1 “อะไรที่มีคุณค่าควรแก่การสร้างความเข้าใจ” ขั้นที่ 2 “อะไรเป็นหลักฐานที่แสดงความเข้าใจนั้น” ขั้นที่ 3 “ประสบการณ์การเรียนรู้และการสอนใดที่เสริมสร้างความเข้าใจ ความสนใจ และความเป็นเลิศในการสร้างความเข้าใจนั้น”

ตารางแสดงข้อแตกต่างของ การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบเดิมกับแบบ Backward Design แผนการจัดการเรียนรู้แบบเดิม แผนการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design 1. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้มาสู่ภาระงาน และวิธีการประเมิน 1. กำหนดเป้าหมายภาระงานและวิธีการประเมินมาสู่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้จากมาตรฐาน การเรียนรู้ สู่กิจกรรมการเรียนรู้ ภาระงาน 2. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้จากมาตรฐานการเรียนรู้ สู่ภาระงาน วิธีการประเมินและกิจกรรมการเรียนรู้ 3. กรอบแนวคิด : ใช้หลักสูตร(วิชา)เป็นตัวตั้ง ด้านความรู้ เน้นทักษะเฉพาะวิชา 3. ใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่ใช้ชีวิตของผู้เรียนเป็น ตัวตั้ง โดยกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ 4 แกน 3.1 ความรู้ที่คงทน 3.2 ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา 3.3 ทักษะคร่อมวิชา 3.4 จิตพิสัย ค่านิยม เจตคติ

หลักฐาน/การแสดงออก/ผลงาน กิจกรรมการเรียนการสอนสู่ผล ที่คาดหวัง หลักการ/ความคิดรอบยอด/ข้อสรุป (สิ่งที่คาดหวังให้นักเรียนเข้าใจหรือสร้างขึ้น) หลักฐาน/การแสดงออก/ผลงาน (ตัวชี้วัดความเข้าใจหรือความสามารถสร้างสิ่งที่คาดหวัง) กิจกรรมการเรียนการสอนสู่ผล ที่คาดหวัง 1 2 สถานการณ์ปัญหา/คำถามสำคัญ (สถานการณ์ปัญหาหรือคำถามสำคัญ ที่ทำให้นักเรียนดำเนินกิจกรรมใน ช่องที่ 3 จนปรากฏหลักฐานตาม ช่องที่ 2 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดการบรรลุผล ในช่องที่ 1) 3 4

Any questions!!!!!! The End………