ข้อมูลการออกแบบท่าเรือ โครงการท่าเรือน้ำลึกปากบารา ระยะที่1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
กองบูรณะและบำรุงรักษา
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
ข้อมูลร่องน้ำบ้านดอน ปากน้ำตาปี จ.สุราษฎร์ธานี
ท่าเรืออเนกประสงค์ดอนสัก (แหลมทวด)จ.สุราษฎร์ธานี
ข้อมูลเดือน ก.ค.๕๔ โดย เรือ ต.๙๕
ท่าเรือแม่น้ำท่าจีน.
ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์
ท่าเทียบเรือประมง อ.คุระบุรี จ.พังงา
ท่าเทียบเรือศรีบ้านเพ
ท่าเรือพาณิชย์แหลมฉบัง
ท่าเทียบเรือ ฐตร.ทรภ.๑.
ท่าเทียบเรืออ่าวสลัด ก.กูด
การสำรวจปากแม่น้ำปัตตานีท่าเทียบเรือ อบต.บานา
ท่าเรือนิคมอุสาหกรรมมาบตาพุด
ท่าเทียบเรืออ่าวตานิด เกาะหมาก
ท่าเทียบเรือเขาหมาจอ
ท่าเทียบเรือเกาะเสม็ด
ร่องน้ำปราณบุรี.
ท่าเรือศุลกากร.
การจัดการความรู้ ข้อมูลเดือน มิ.ย.๕๔ โดย เรือ ต.๑๖
ท่าเทียบเรือ เกาะพยาม จ.ระนอง เรือ ต.๒๑๔ ปฏิบัติราชการ ทรภ.๓
การสำรวจร่องน้ำคลองบางนรา จ.นราธิวาส
การสำรวจบริเวณท่าเทียบเรือเอนกประสงค์ อ.เกาะพะงัน จว.สุราฦษฎร์ธานี
การสำรวจบริเวณท่าเรือซีทรานเฟอร์รี่หาดหน้าทอน เกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี
ท่าเรือ โอเชี่ยน มารีน่า
ร่องน้ำปากน้ำชุมพร เรือ ต.๘๑.
ระบบอนุภาค.
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
เมื่อโครงการชลประทานกาญจนบุรี ได้รับหนังสือร้อง ขอที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาเรื่องน้ำ จะให้ ฝสบ. คป. ในพื้นที่ ไปดำเนินการพิจาณาโครงการ เบื้องต้น.
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 2 ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
สำนักงานประมงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
โครงการก่อสร้าง 1.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
พื้นที่โครงการ 11 พื้นที่
โครงการปรับปรุงฟื้นฟูห้วยน้ำลี
โครงการงบผูกพันข้ามปี
การเปิดประตูการค้าแห่งใหม่ ระหว่างไทยกับอินเดีย. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ Cambodia Vietnam Laos China India Malaysia Indonesia Singapore Brunei.
เขื่อนชีบน และ เขื่อนยางนาดี จังหวัดชัยภูมิ
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทะเลแหวก แห่งอันดามัน
ห้างหุ้นส่วนจำกัด กองมณีก่อสร้าง
ศูนย์บำรุงทางหลวงชนบทแกลง Rural Roads Maintenance Center (Klaeng)
ราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและ ความละเอียดของข้อมูล ต้องใช้พลังงานจากเรือยนต์
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำข้อมูลเพื่อการปรับเงินเดือนตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กำหนด (ที่ ศธ / ว 21 ลงวันที่ 13 ธ.ค. 2556) ดร.เสงี่ยม ทองละมุล.
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2559 งบประมาณ ล้านบาท
ส่วนเครื่องจักรกล ผลการปฏิบัติงาน งานซ่อมแซมอาคารระบายน้ำปลายคลองส่งน้ำสายใหญ่ แม่วังฝั่งซ้าย ดำเนินการโดย ฝ่ายปฏิบัติการเครื่องจักรกลงานดิน ช่วงระยะเวลา.
แบบรูปรายการก่อสร้าง สำหรับปีงบประมาณ 2558
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
รายงานผลการตรวจสอบ สภาพงานก่อสร้างทาง หลวงชนบท ที่อยู่ระหว่างค้ำประกัน สัญญา กลุ่มงานทางหลวงชนบท สำนัก ก่อสร้างทาง.
ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนัก ชลประทานที่ 3 วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ. ศ ณ ห้องประชุม 1 สำนัก ชลประทานที่ 3 วาระที่ 3.1 : สรุป รายงาน ผลการเบิกจ่าย.
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาปัตตานี
ขันน็อต 100 ปี โครงการก่อสร้างถนนเลียบชายฝั่งทะเลตะวันตก
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านชลประทาน
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด มี พื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 98 ตาราง กิโลเมตร หรือ 61,300 ไร่ ลักษณะ ภูมิประเทศ ประกอบด้วยภูเขา หินปูนสลับซับซ้อน เป็นอุทยานแห่งชาติ
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดสมุทรสงคราม สหกรณ์ก้าวไกล ด้วยน้ำ พระทัยในหลวง.
ระบบส่งน้ำสถานีสูบน้ำ PL2 PL3
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
แผนการดำเนินงาน การบำรุงรักษาระบบโครงข่ายทางหลวงชนบท งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 สำนักบำรุงทาง กรมทางหลวงชนบท.
สำนักวิเคราะห์งบประมาณส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2559 งบประมาณ ล้านบาท
โครงการฝายยางลำเซบาย ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลการออกแบบท่าเรือ โครงการท่าเรือน้ำลึกปากบารา ระยะที่1 ท่าเรือน้ำลึกระยะที่ 1 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ : ท่าเทียบเรือสินค้าคอนเทนเนอร์ จำนวน 3 ท่าความยาว 750 ม. เทียบเรือขนาด Post Panamax ได้ 2 ลำ ความลึกร่องน้ำเดินเรือที่ระดับ –14.0 ม. จากระดับน้ำทะเลต่ำสุด หรือ -16.25 ม.รทก. พื้นที่ท่าเรือ และลานกองตู้ได้จากการถมทะเลมีขนาด 430 x 1,086 ม. หรือประมาณ 292 ไร่ สะพานคสล.ขนาด 4 ช่องจราจร ความยาวประมาณ 4.3 กม.เชื่อมพื้นที่ท่าเรือกับชายฝั่ง เขื่อนหินทิ้งกันคลื่น ความยาว 1,700 ม. โครงการ 2ล้านล้าน

ขนาดเรือสายต่าง ๆ และการออกแบบ ในเอเชีย (Intra-Asia) เอเชีย-แอฟริกา ตะวันออกกลาง เอเชีย-ยุโรป Class เรือ Panamax Post-Panamax TEU 1,000-1,500 3,000-3,500 5,500-6,000 DWT 25,000-30,000 40,000 65,000-70,000 ความยาว (ม) 170-200 250 275-285 กินน้ำลึก (ม) 10-11 11-12.5 13.5 ความกว้าง (ม) 27-28 32.3 40 จำนวนแถวตู้ 11 13 16 ขนาดเรือ ที่ใช้ออกแบบขนาด Post – Panamax ยาว (L) 280 ม. กว้าง (W) 40 ม. ลึก (D) 13.5 ม. และขนาดเรือขนาดกลาง (intra-Asia) ยาว (L) 180 ม. กว้าง (W) 28 ม. ลึก (D) 11.0 ม.

ออกแบบความลึกหน้าท่าและร่องน้ำเดินเรือ ระยะแรก ระยะต่อไป เรือกินน้ำลึกสูงสุด (ม) 13.5 13.5 ระยะเผื่อใต้ท้องเรือ (ม) 0.5 1.35 (10 %) รวมความลึก (ม) 14.0 14.85 ระดับขุดลอก LLW -14.0 14.85 MSL -16.25 17.10

ออกแบบความกว้างร่องน้ำ เดินทางเดียว (ระยะแรก) เดินสองทาง (ระยะต่อไป) UNCTAD 5B 5 X 40 = 200 7B + 30 ม. 7 x 40 + 30 = 310 ม. Port Standard Japan 0.5 LOA 0.5 x 280 = 140 ม. 1.0 LOA 280 ม. ออกแบบ 180 ม. 300 ม. ออกแบบความกว้างแอ่งกลับลำเรือ ความกว้างแอ่งกลับลำเรือ = 2 L = 2 x 280 = 560 ม. , ออกแบบ 600 ม.

แนวร่องน้ำเดินเรือระยะแรก งานขุดลอก (Dredging Work) งานขุดลอกรวม 9.98 ล้านลูกบาศก์เมตร งานบำรุงรักษาร่องน้ำ 0.58 ล้านลูกบาศก์เมตร/4ปี Pakbara port แนวร่องน้ำเดินเรือระยะแรก Entrance Channel (-14 LLW) Turning Basin 600 m.

ออกแบบหน้าท่าเทียบเรือสินค้าตู้ ความยาว : 750 ม. 1. เทียบเรือ Post – Panamax 2 ลำ 30 + 280 + 30 + 280 + 30 = 650 ม. 2. เทียบเรือ Post – Panamax 1 ลำ + ขนาดกลาง 2 ลำ 25 + 180 + 30 + 280 + 30 + 180 + 25 = 750 ม. ออกแบบขนาด Crane หน้าท่า เรือขนาด Post – Panamax กว้าง 40 ม. (16 แถว) ความยาวแขนเครน = 40 + 3 ม. (รางเครนถึงหน้าท่า) + 1.5 ม. (ความหนายางกันกระแทก) = 44.5 ม. ความกว้างรางเครน = 30.5 ม.

การออกแบบผังท่าเรือ ผังทั่วไปของท่าเรือ ความยาวท่าเทียบเรือสินค้าตู้ : 750 ม. ความยาวท่าเทียบเรือบริการ : 292 ม. ผังทั่วไปของท่าเรือ

ผังลานคอนเทนเนอร์และหน้าท่าเทียบเรือ ความยาวท่าเทียบเรือสินค้าตู้ : 750 ม. ผังลานคอนเทนเนอร์และหน้าท่าเทียบเรือ

ผังพื้นที่สนับสนุนท่าเรือ ความยาวท่าเทียบเรือบริการ : 292 ม.

ทัศนียภาพท่าเรือ ลานกองตู้ อาคารสินค้า เขื่อนกันคลื่น

ทัศนียภาพการพัฒนาท่าเรือน้ำลึกระยะที่ 1 และอาคารต่างๆ ในกิจกรรมท่าเรือน้ำลึก

ติดตั้งหอเตือนภัยสินามิ อาคารปฏิบัติการหน้าท่า

ออกแบบหน้าท่าเทียบเรือสินค้าตู้ LLW -14.00 -14.00 -14.85 รูปตัดโครงสร้างหน้าท่าเรือน้ำลึก

ท่าเรือบริการ LLW

การออกแบบคันหินถมทะเล (revetment) LLW LLW

การออกแบบเขื่อนกันคลื่น ออกแบบไว้ให้กันคลื่นจากทิศใต้ และตะวันตกเฉียงใต้เป็นหลัก เนื่องจากด้านตะวันตกมีเกาะเขาใหญ่ และเกาะลินเต๊ะเป็นแนวกำบังคลื่นลมอยู่แล้ว เขื่อนกันคลื่นมีความยาว 1,700 เมตร LLW เขื่อนกันคลื่น

การออกแบบสะพานทางเข้าท่าเรือ ความยาว 4,300 เมตร เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาด 4 ช่องจราจร (เข้า 2 ออก 2) ไม่มีไฟแดง

จุดเชื่อมท่าเรือกับถนน ตอนออกจากท่าเรือเป็นสะพานยกระดับ ไม่มีไฟแดง การออกแบบสะพานทางเข้าท่าเรือ

การออกแบบสะพานทางเข้าท่าเรือ สะพานปกติสูงจากน้ำขึ้น 2 เมตร(MHWS) หรือ 3.40 เมตร(MSL) ช่วงเสาห่าง 30 เมตร สะพานช่องลอดเรือสูงจากน้ำขึ้น 5.56 เมตร (MHWS) หรือ 6.90 เมตร(MSL) กว้าง 50 เมตร

การออกแบบสะพานทางเข้าท่าเรือ LLW รูปตัดสะพาน 4 เลน