งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ท่าเรือนิคมอุสาหกรรมมาบตาพุด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ท่าเรือนิคมอุสาหกรรมมาบตาพุด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ท่าเรือนิคมอุสาหกรรมมาบตาพุด
NFC RTB TPT SPRC GLOWW TTT MTT PTTLNG BLCP

2 ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๑. วันที่สำรวจ ๒๑ มิ.ย. ๕๔
๑. วันที่สำรวจ ๒๑ มิ.ย. ๕๔ ๒. ลักษณะน้ำ/ลม/มาตราน้ำ/ข้างขึ้น-แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ ๑๕ เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ตรงกับ วันแรม ๕ ค่ำ เดือน ๗ ทะเลมีคลื่นสูง ๑-๒ เมตร

3 ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง
แผนที่ที่เกี่ยวข้อง - แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข ๑๔๑,๑๕๗,๑๖๓ (อศ.) ตำบลที่ ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ต.มาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง ทุ่นไฟปากร่อง แลต ๑๒ องศา ๓๖.๙๔ ลิปดา น. ลอง ๑๐๑ องศา ๐๙.๗๐ ลิปดา อ.

4 NFC RBT TPT T SPRC C-330 GLOW W TTT MTT PTTLNG BLCP ลักษณะร่องน้ำ ร่องน้ำบริเวณท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด มีความลึกโดยเฉลี่ย ๑๕ เมตร ที่ระดับน้ำขึ้นสูงสุด (๑๖.๔ เมตร) บริเวณปากร่องน้ำจนถึงบริเวณที่จะเลี้ยวเข้าจอดบริเวณท่าเรือ มีความลึกเฉลี่ย ๑๑– ๑๖ เมตร บริเวณภายในท่าเรือท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด มีความลึกเฉลี่ย ๑๑ – ๑๓ เมตร บริเวณปากทางเข้าท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด มีการสร้างเขื่อนกันคลื่นทางฝั่งซ้าย เป็นเขื่อนหินทิ้งยาวเข้าไปจนถึงฝั่ง มีไฟกำกับร่องน้ำที่ปลายเขื่อนและไฟกำกับร่องน้ำ (ไฟสีแดงทางฝั่งซ้าย และ ไฟสีเขียวทางกราบขวา ในทิศทางขาเข้าสู่ร่องน้ำ) มีหลักนำในการนำเรือเข้าร่องน้ำจำนวน ๑ คู่ มีทุ่นไฟปากร่องจำนวน ๑ ทุ่น และเข็มหลักในการนำเรือเข้าร่องน้ำ เข็ม ๓๔๕ และ ๓๓๐ ตามลำดับ C-345 ทุ่นไฟปากร่อง

5 NFC RBT TPT SPRC GLOWW TTT MTT PTTLNG BLCP
บริษัท ปตท อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด(มหาชน) (PTTAR) บริษัท มาบตาพุด แทงค์ เทอร์มินัล จำกัด (MTT) บริษัท โกลว์ เอสพีพี3 จำกัด (GLOW SPP3) บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ จำกัด (BLCP) บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จำกัด (PTT LNG) บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จำกัด (PTT TANK) บริษัท ระยองเทอร์มินัล จำกัด (RTC) บริษัท ไทยพรอสเพอริตี เทอร์มินอล จำกัด (TPT)   PTTLNG BLCP

6

7 การนำเรือเข้าเทียบ/ออกจากเทียบ
เมื่อถึงบริเวณทุ่นไฟปากร่อง นำเรือเข้าท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด โดยมีเข็มหลักในการนำเรือเข้าร่องน้ำ คือ เข็ม ๓๔๕ ระยะทางประมาณ ๒.๔ ไมล์ แล้วเปลี่ยนไปถือเข็ม ๓๓๐ ระยะทางประมาณ ๑๖๐๐ หลา เพื่อเข้าไปท่าเทียบเรือ โดยให้ระมัดระวังมีเรือสินค้าขนาดใหญ่ และเรือ TUG ที่สัญจรในร่องน้ำ สำหรับตำบลที่ในการเทียบเรือ เรือ ตกฝ. ควรเทียบเรือบริเวณท่าเทียบเรือ RBT ด้านในและบริเวณท่าเทียบเรือ TPT3(ด้านข้าง)

8 บริเวณปากร่องน้ำ กว้างประมาณ 900 เมตร

9 เบรกกันคลื่น ท่า BLCP ที่หมายเวลากลางคืน มี ทุ่นไฟปากร่อง ๑ ทุ่น มีไฟกำกับร่องน้ำที่ปลายเขื่อนและบนบก (ไฟสีแดงทางฝั่งซ้าย และ ไฟสีเขียวทางกราบขวา ในทิศทางขาเข้าสู่ร่องน้ำ)

10 ข้อมูลท่าเทียบเรือ RBT
ความยาวท่าเทียบเรือประมาณ ๑,๐๒๔ ม. มียางกันกระแทกขนาดใหญ่ ห่างกันประมาณ ๓๐ ม. สามารถให้การสนับสนุนน้ำจืดได้ (ไม่สามารถใช้สายสูบได้ ต้องใช้สายยางขนาด ๒.๕ นิ้ว ) มีตู้ไฟขนาด ๒๒๐ v สามารถใช้ได้แค่ไฟแสงสว่างในเรือเท่านั้น ก่อนเข้าเทียบต้องติดต่อนายท่ามาบตาพุดให้เรียบร้อยทาง VHF ช่อง ๑๓

11 ท่า NFC ท่า RBT

12 จุดสังเกตุ มีเครนสีแดง ๔ ตัว
ท่า RBT จุดสังเกตุ มีเครนสีแดง ๔ ตัว ที่จอดเรือขนาดเล็ก ข้อมูลท่าเทียบเรือ RBT ความยาวท่าเทียบเรือประมาณ ๑,๐๒๔ ม. มียางกันกระแทกขนาดใหญ่ ห่างกันประมาณ ๓๐ ม. สามารถให้การสนับสนุนน้ำจืดได้ (ไม่สามารถใช้สายสูบได้ ต้องใช้สายยางขนาด ๒.๕ นิ้ว ) มีตู้ไฟขนาด ๒๒๐ v สามารถใช้ได้แค่ไฟแสงสว่างในเรือเท่านั้น ก่อนเข้าเทียบต้องติดต่อนายท่ามาบตาพุดให้เรียบร้อยทาง VHF ช่อง ๑๓

13 ข้อมูลท่าเทียบเรือ TPT
ความยาวท่าเทียบเรือประมาณ ๓๓๐ ม. มียางกันกระแทกขนาดใหญ่ ห่างกันประมาณ ๕ ม.(ด้านข้าง) และ ๒๐ ม.(ด้านหน้า) ก่อนเข้าเทียบต้องติดต่อนายท่ามาบตาพุดให้เรียบร้อยทาง VHF ช่อง ๑๓

14 ท่า TPT ด้านหน้าท่า จุดสังเกตุ มีเครน สีเหลือง ๒ตัว ยางกันกระแทก ๒๐ ม.
ความยาวท่าเทียบเรือประมาณ ๓๓๐ ม. มียางกันกระแทกขนาดใหญ่ ห่างกันประมาณ ๕ ม.(ด้านข้าง) และ ๒๐ ม.(ด้านหน้า) ก่อนเข้าเทียบต้องติดต่อนายท่ามาบตาพุดให้เรียบร้อยทาง VHF ช่อง ๑๓ ด้านหน้าท่า

15 ท่า TPT 3 ด้านข้างท่า ๕ ม. ยางกันกระแทก

16 ข้อควรระมัดระวัง เนื่องจากเป็นท่าเรือนิคมอุตสาหกรรมจึงมีการสัญจรของเรือสินค้าขนาดใหญ่ เรือบรรทุกน้ำและเรือ TUG อยู่ตลอดเวลา ควรใช้ความระมัดระวัง ในการจอดเรือท่า RBT นั้นควรจอดด้านในซึ่งอยู่ส่วนของที่จอดเรือขนาดเล็ก เนื่องจากบริเวณหน้าท่าเป็นพื้นที่รับลม ซึ่งจะทำให้เรือกระแทกกับท่าจนอาจเกิดอันตรายกับเรือได้ อีกทั้งยางกันกระแทกบริเวณหน้าท่ามีระยะห่างประมาณ ๓๐ ม.ซึ่งเท่ากับความยาวของเรือ ตกฝ. จึงไม่เหมาะกับการเทียบเรือ

17 ข้อควรระมัดระวัง เรือ TUG

18 จุดสังเกตุ มีเครนสีแดง ๔ ตัว
ข้อควรระมัดระวัง ท่า RTB จุดสังเกตุ มีเครนสีแดง ๔ ตัว ที่จอดเรือขนาดเล็ก ในการจอดเรือท่า RBT นั้นควรจอดด้านในซึ่งอยู่ส่วนของที่จอดเรือขนาดเล็ก เนื่องจากบริเวณหน้าท่าเป็นพื้นที่รับลม ซึ่งจะทำให้เรือกระแทกกับท่าจนอาจเกิดอันตรายกับเรือได้ อีกทั้งยางกันกระแทกบริเวณหน้าท่ามีระยะห่างประมาณ ๓๐ ม.ซึ่งเท่ากับความยาวของเรือ ตกฝ. จึงไม่เหมาะกับการเทียบเรือ 30 M 30 M

19 ๔. การติดต่อ - วิทยุ VHF Marine Band CH.13 ,CH.14, CH.16 ได้ตลอด 24ชั่วโมง - โทรศัพท์ Maptaphut Port Controlโทร -รายชื่อ คุณ อนุสรณ์ พรรณศิลา บริษัท TPT ทาง โทร ต่อ 104 หรือ VHF.13 - เบอร์ติดต่อสำคัญในพื้นที่ สถานีตำรวจภูธรมาบตาพุด โทร หรือ โรงพยาบาลมาบตาพุด โทร

20 ๕. สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำ ท่า RBT สามารถให้การสนับสนุนน้ำจืดได้ (ไม่สามารถใช้สายสูบได้ ต้องใช้สายยางขนาด ๒.๕ นิ้ว ) ท่า TPT ไม่สามารถให้การสนับสนุนน้ำจืดได้ แต่ติดต่อได้ที่เรือน้ำที่จอดบริเวณใกล้เคียงได้โดยตรง ไฟฟ้า ท่า RBT ไฟฟ้า ๒๒๐ โวลท์ (เฉพาะไฟฟ้าแสงสว่าง) ท่า TPT ไม่สามารถให้การสนับสนุนได้ โทรศัพท์ ไม่มี

21 ลักษณะของท่อส่งน้ำเป็นแบบปลดเร็ว ต้องใช้สายยางขนาด 2.5 นิ้ว
RBT ลักษณะของท่อส่งน้ำเป็นแบบปลดเร็ว ต้องใช้สายยางขนาด 2.5 นิ้ว ตู้ต่อไฟ ๒๒๐ v


ดาวน์โหลด ppt ท่าเรือนิคมอุสาหกรรมมาบตาพุด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google