คณะกรรมการประกวดรพ.สต.ดีเด่น ประจำปี ๒๕๕๖ จังหวัดกาฬสินธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลจัดการสุขภาพตะลุง ปี 2554
Advertisements

๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ความหมายและกระบวนการ
การคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับชาติ ปี ๒๕๕๔ สาขาการส่งเสริมสุขภาพ
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสามง่าม
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด แผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
จากสำนักงานนโยบายและแผน
“เบาหวาน ความดัน ดูแลถ้วนทั่วด้วยหมอครอบครัว” รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นปัญหาสาธารณสุขและแผนงานโครงการ ตำบลห้วยไร่ ปี 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ส่งเสริมสัญจร.
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
Pass:
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นายแพทย์ปรเมษฐ์ กิ่งโก้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ๒๔ กันยายน ๒๕๕๖.
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะกรรมการประกวดรพ.สต.ดีเด่น ประจำปี ๒๕๕๖ จังหวัดกาฬสินธุ์ ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประกวดรพ.สต.ดีเด่น ประจำปี ๒๕๕๖ จังหวัดกาฬสินธุ์ ด้วยความยินดียิ่ง

ตำบลนาดี การเกษตรผสมผสาน ตามรอยพระราชดำริ การเกษตรผสมผสาน ตามรอยพระราชดำริ แหล่งผลิตวัวงาม มหาธารลำปาวไหลตลอดปี ประเพณีแข่งเรือยาว ชาวนาดีไม่ทอดทิ้งกัน ยึดมั่นวัฒนธรรมประเพณี สุขภาพดีด้วยวิถีพอเพียง

ข้อมูลทั่วไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดง

ข้อมูลทั่วไป ทิศเหนือ จรดกับ ต.อุ่มเม่า อ.ยางตลาด และ อ.เมืองกาฬสินธุ์ ทิศเหนือ จรดกับ ต.อุ่มเม่า อ.ยางตลาด และ อ.เมืองกาฬสินธุ์ ทิศใต้ จรดกับ ต.โนนศิลาเลิง อ.ฆ้องชัย ทิศตะวันออก จรดกับ อ.เมืองกาฬสินธุ์ ทิศตะวันตก จรดกับ ต.อุ่มเม่า อ.ยางตลาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดง

++ ห่างจากตัวจังหวัด ๑๒ กม. ++ ห่างจากอำเภอ ๑๕ กม. ข้อมูลทั่วไป ++ ห่างจากตัวจังหวัด ๑๒ กม. ++ ห่างจากอำเภอ ๑๕ กม. ++ เขตพื้นที่ ๑๔ ตร.กม. ++ ๙ หมู่บ้าน (เขตชนบท ๙ หมู่) ++ หลังคาเรือน ๑,๓๖๘ หลังคา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดง

ประชากร ๖,๓๙๒ คน ชาย ๓,๑๖๓ คน หญิง ๓,๒๒๙คน

เศรษฐกิจและรายได้ อาชีพหลัก ทำนา ทำไร่ อาชีพรอง ทำสวน พืชผัก เลี้ยงสัตว์ โค กระบือ สุกร เป็ด –ไก่และค้าขาย ปชช.รายได้เฉลี่ย ๑๕,๐๐๐บาท/คน/ปี(จปฐ. : ๒๕๕๖,พัฒนาชุมชน)

พ.ศ. อัตรา เกิด อัตรา ตาย อัตรา เพิ่ม ๒๕๕๑ ๑๑.๕๖ ๕.๘๔ ๐.๗๑ ๒๕๕๒ ๑๐.๘๑ อัตราเกิด-ตาย พ.ศ. อัตรา เกิด อัตรา ตาย อัตรา เพิ่ม ๒๕๕๑ ๑๑.๕๖ ๕.๘๔ ๐.๗๑ ๒๕๕๒ ๑๐.๘๑ ๐.๖๑ ๒๕๕๓ ๙.๔๔ ๗.๘๐ ๐.๒๐ ๒๕๕๔ ๘.๐๓ ๖.๖๒ ๑.๔๑ ๒๕๕๕ ๗.๓๔ ๔.๔๙

สาเหตุการตายที่สำคัญ อื่น ๆ สาเหตุ ไม่ชัดเจน ลำดับ จำนวน อัตราต่อพัน ๑ ชรา ๑.๙๘ ๒ หัวใจล้มเหลว ๑.๑๑ ๓ ไตวายเรื้อรัง ๐.๗๓ ๔ มะเร็ง ๐.๓๗ ๕ อื่น ๆ สาเหตุ ไม่ชัดเจน ๐.๑๒

ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ๑. โรคไข้เลือดออก ๒. โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๓. การใช้สารเคมีในการเกษตร

ทรัพยากรสาธารณสุข ++ อสม. ๑๑๐ คน ++ สุขศาลาหมู่บ้าน ๙ แห่ง ++ อสม. ๑๑๐ คน ++ สุขศาลาหมู่บ้าน ๙ แห่ง นายสาคร ภูอาบอ่อน ผอ.รพ.สต.บ้านปอแดง นางจิตชญา ถิตย์สุวรรณ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นส.จุฑามาส บัวลอย นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ นส.วิราวรรณ บุตรสุริย์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน นางดวงจันทร์ กอบุญ พนักงานทั่วไป นางสมควร ภูลายดอก พนักงานผู้ช่วยแพทย์แผนไทย นายเกรียงไกร ภูหวล พนักงานธุรการ

คณะกรรมการพัฒนา รพ.สต. นายศุภชัย ภูดอนม่วง นายก อบต.นาดี ประธาน นายสาคร ภูอาบอ่อน ผอ.รพ.สต. รองประธาน พระครูสังฆรักษ์คะนองฐานวโร เจ้าอาวาส ที่ปรึกษา กรรมการจากทุกภาคส่วน รวม ๒๐ คน

ตำบลนาดีไม่ทอดทิ้งกัน วิสัยทัศน์ ตำบลนาดีไม่ทอดทิ้งกัน เพื่อเป็นตำบล แห่งสุขภาวะภายในปี ๒๕๖๐

พันธกิจ ๑.ตอบสนองยุทธศาสตร์สุขภาพ จังหวัดกาฬสินธุ์ ๒.พัฒนาระบบบริการสุขภาพต่อเนื่อง เชื่อมโยง ไร้รอยต่อ

การตอบสนองยุทธศาสตร์ Policy Needs Stakeholder Needs Business Needs

กระบวนการตอบสนองยุทธศาสตร์ P S D A C

โครงการลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัย ผลงานที่ภาคภูมิใจ ปี ๕๖ DHS โครงการลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัย การดูแลผู้ป่วย TB แบบมีส่วนร่วม การแก้ปัญหาผู้ป่วยโรค DM/HT ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งดีเด่นระดับอำเภอ ภาคประชาชน/ภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง(สุขศาลามาตรฐาน)

พวกเราทำได้ และจะทำต่อไป.... รางวัลการควบคุมโรคเข้มแข็งดีเด่นระดับชาติ

เฝ้าระวังด้วย ปิงปองจราจร ๗ สี นวัตกรรมบริการ เฝ้าระวังด้วย ปิงปองจราจร ๗ สี 2458 2444 28 21 19 57 21 11 6 1 13 5 DM HT

พรมกะลามะพร้าวดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน นวัตกรรมชุมชน พรมกะลามะพร้าวดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน

รพ.สต.สุขภาพดี วิถีพอเพียง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสีเขียว

เป็นศูนย์ประสานงานภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ศูนย์ประสานงานและที่ทำการผู้สูงอายุตำบลนาดี ศูนย์ประสานงานและที่ทำการอสม.ตำบลนาดี ศูนย์ประสานงานและที่ทำการชมรมสายใยรักตำบลนาดี ศูนย์ประสานงานและที่ทำการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาดี ศูนย์ประสานงานและที่ทำการกองทุนสวัสดิการตำบลนาดี ศูนย์เรียนรู้ไร้พรมแดน โดยให้เยาวชนใช้สถานที่และอินเทอร์เน็ตไร้สายสำหรับค้นคว้าข้อมูลทางการศึกษา

ความภาคภูมิใจสูงสุด

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1) การประสานงานที่ลงตัว 2) ภาคีเครือข่ายกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกัน 3) การขับเคลื่อนแบบบูรณาการกับภาคีเครือข่ายมีการกำหนดจุดหมายปลายทางร่วมกัน

กระบวนการทำงาน รพ.สต + ภาคีเครือข่าย เป้าหมาย ประชาชนมีสุขภาพดี

รูปแบบการประเมินผลการดำเนินงาน

เกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดีเด่น ปี ๒๕๕๖ ผลการประเมินตนเอง เกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดีเด่น ปี ๒๕๕๖

รายละเอียดตามเอกสาร/แฟ้ม และซักถามผู้รับผิดชอบได้ครับ ลำดับที่ ประเด็นหลักการประเมิน คะแนน คะแนนที่ได้รับ ๑ ส่วนที่ ๑ การนำเสนอ ๑๐๐ ๒ ส่วนที่ ๒ งานบริหาร ๓ ส่วนที่ ๓ งานแผนงานและยุทธศาสตร์ ๔ ส่วนที่ ๔ ผลการปฏิบัติงาน ๒๐๐ ๕ ส่วนที่ ๕ ผลงานวิจัย หรือ นวัตกรรม หรือ ผลงานยอดเยี่ยม คะแนนรวม ๖๐๐ รายละเอียดตามเอกสาร/แฟ้ม และซักถามผู้รับผิดชอบได้ครับ

“ชาวตำบลนาดีไม่ทอดทิ้งกัน” เมืองแห่งสุขภาวะในปี ๖๐ สู่เป้าหมาย ตำบลนาดี เมืองแห่งสุขภาวะในปี ๖๐