การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
Advertisements

งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวพรสุดา ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์ โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของโรเบิร์ต กาเย่ ผู้วิจัย นายวิจักร์ พจนพิจิตต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักศึกษาเห็นความสำคัญและสนใจในรายวิชา ภาษาไทยตลอดจนสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ในการวิเคราะห์แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมได้

2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน ในรายวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 2 2000-1102 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขางานช่างยนต์ ชย.1101 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

1.3 แนวคิดในการทำวิจัย ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น 1.3 แนวคิดในการทำวิจัย ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนของรายวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 2 โดยการสอนวิธีการสอนโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของ โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gagne’) วิธีการสอนโดยใช้ทฤษฎี การเรียนรู้ของ โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gagne’)

1.4ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาช่างยนต์ ชย.1101 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โดยทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นปฐมภูมิ (Stratified Random Sampling) ในชั่วโมงกิจกรรม ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 20 คน

1.5 ลักษณะเครื่องมือที่ใช้ 1.5 ลักษณะเครื่องมือที่ใช้ 1. แผนการสอนรายวิชา 2000-1102 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ2 เรื่องการอ่าน โดยการสอนแบบทฤษฎี การเรียนรู้ของ โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gagne’) 2. ใบงาน, แบบทดสอบ 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

1.6 สรุปผลการวิจัย 1. พฤติกรรมการเรียนรายวิชา 2000-1102 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ 2 เรื่อง การอ่านวิธีการสอนโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของ โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gagne’) ของนักศึกษา ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมการ นักศึกษาปฏิบัติพฤติกรรมการเรียนในทุกพฤติกรรมของเรื่อง การอ่านอยู่ในระดับดี ขั้นดำเนินการ นักศึกษาปฏิบัติพฤติกรรมการเรียนในทุกพฤติกรรมในระดับดี ขั้นสรุปผล และประเมินผลนักศึกษาปฏิบัติพฤติกรรมเรียนในทุกพฤติกรรมของเรื่อง นักศึกษาปฏิบัติในระดับดี 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของ โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gagne’) ก่อนเรียน และหลังเรียนแตกต่างกัน โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

1.8 ข้อเสนอแนะการวิจัย 1. ก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของ โรเบิร์ต กาเย่ ครูผู้สอนควรแนะนำขั้นตอนของวิธีการเรียนโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของ โรเบิร์ต กาเย่ ให้แก่ผู้เรียน เมื่อผู้เรียนคุ้นเคยกับการเรียนการสอนแบบนี้แล้ว จะทำให้การเรียนดำเนินไปได้ดียิ่งขึ้น 2. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของ โรเบิร์ต กาเย่ ควรคำนึงถึงวัยความสนใจและความสามารถของผู้เรียน ตลอดจนลักษณะของเนื้อหาที่สอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างประสิทธิภาพ 3. ขณะสอนโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของ โรเบิร์ต กาเย่ ครูควรมีการซักถามผู้เรียนฝึกความกล้าในการแสดงออกของผู้เรียนด้วย 4. การจัดกิจกรรมการเรียนสอน ควรฝึกให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากกรณีตัวอย่าง เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

2. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป การนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ แนวคิดของกาเย่สามารถนำมาใช้ในระบบการเรียนการสอนได้โดยตรง โดยการสร้างสถานการณ์หรือเหตุการณ์เพื่อสร้างความตั้งใจแก่ผู้เรียน เมื่อผู้เรียนเกิดความสนใจและตั้งใจที่จะเรียนแล้ว ผู้สอนก็แจ้งวัตถุประสงค์ในการเรียนให้แก่ผู้เรียน โดยพยายามเชื่อมโยงความรู้เดิมที่ได้เรียนมาก่อนหน้ากับความรู้ใหม่ให้เข้ากันได้ จากนั้นก็เสนอบทเรียนใหม่ มีการแนะนำชี้แนวทางในการเรียนเพื่อจะให้เกิดการเรียนรู้ สร้างกิจกรรมให้ผู้เรียนได้มีกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติจริงและแจ้งผล การปฏิบัติงานให้นักเรียนทราบเป็นระยะเพื่อเป็นการประเมิน และมีการสรุปเสริมบทเรียนเพื่อสร้างความแม่นยำและการถ่ายโยงความรู้ไปใช้กับสิ่งอื่น ๆ ในโอกาสต่อไป การนำแนวคิดของกาเย่ไปใช้ในสร้างสื่อการสอน เช่น การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) และบทเรียนออนไลน์ (E-learning)

ขอบพระคุณผู้ให้การสนับสนุนทุกท่าน