การเตรียมความพร้อมโครงการห้องเรียนอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยรังสิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

การอบรมโครงการ E-Classroom
สาขาวิชาที่เปิดสอน วิทยาลัยการอาชีพนครนายก Nakornnayok industrial and community education collage.
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน : Cyber University
ยินดีต้อนรับ.
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
Key Performance Indicators
วันที่ 18 มกราคม 2556 นายโชคจุล สุคันธาพฤกษ์ รผก
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ภาควิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยา ให้การศึกษาทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแมลง เพื่อนำความรู้ไปแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ รู้จักแมลงที่มีประโยชน์และโทษ.
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมและบริการด้านการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
Thailand Quality Award (TQA)
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
โครงการเพิ่มช่องทางการเข้าถึง เครือข่าย CUNET จากเครือข่าย ภายนอกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่ม IT919.
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
การประกันคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาการให้บริการระบบสารสนเทศ งานทะเบียนผ่าน smart device
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การทำกิจกรรม หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จะกำหนดกิจกรรม
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัสวิชา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัสวิชา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัสวิชา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัสวิชา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
อาจารย์อาคม เผือกจันทึก
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสำเร็จของศิษย์เก่า รุ่นที่ ๓
งานศึกษาค้นคว้ารายงาน รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การสอบ GAT และ PAT.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
สถาบันพระบรมราชชนกและวิทยาลัยในสังกัด ๓ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ โรงเรมชลอินเตอร์
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพ
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
โดย ศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภคจังหวัด สงขลา สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ภาคใต้ ม. สงขลานครินทร์
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
Moodle Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
กลุ่ม / แผนการเรียนใน ระดับอุดมศึกษา แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ และ ศิลป์ศาสตร์
ยินดีต้อนรับ ผู้บริหาร คณะครู และ บุคลากร โรงเรียนหาดใหญ่อำนวยวิ ทย์บริหารธุรกิจ และ โรงเรียนหาดใหญ่อำนวย วิทย์พณิชยการ ศึกษาดูงานการจัดการ ความรู้ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
"อร่อยได้...ไร้แอลกอฮอล์" เพื่อสืบสานประเพณีลอยกระทง
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
ผู้อำนวยการ ..คิดอย่างไร ?
โดย ผศ.ดร.วลัยภรณ์ นาคพันธุ์ และนางสาวโสราวดี วิเศษสินธพ
ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุปภารกิจของฝ่ายสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ. ดร. พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย.
ชื่อโครงการ ผู้นำเสนอ ฝ่าย วันที่ การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2550 นายเกษม วงค์แสน เครือข่ายสื่อสารและบริการวิทยาเขต 30 พฤษภาคม.
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
ส่งเสริมให้คำที่ปรึกษาและบริการความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเตรียมความพร้อมโครงการห้องเรียนอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยรังสิต ณัฐพัชร์ หลวงพล, ผศ.ดร. วลัยภรณ์ นาคพันธุ์ ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต

Why? ทำไมต้องมีโครงการ Smart Classroom ในปัจจุบันระบบการศึกษาในประเทศไทย ในระดับพื้นฐานตั้งแต่ชั้นประถม และมัธยมศึกษา ได้ตื่นตัวและมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอนให้ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการเรียนสอน และการเรียนรู้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของระบบการศึกษาแล้ว และเยาวชนเหล่านี้คือผู้ที่พร้อมสำหรับระบบการเรียนรู้แบบใหม่ มีความคุ้นเคยกับการใช้อุปกรณ์เป็นอย่างดี ประเด็นสำคัญที่ต้องเตรียมพร้อมคือ กลุ่มเหล่านี้เมื่อเข้าสู่การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ผู้สอนจะต้องมีการปรับตัว รูปแบบการเรียนการสอนจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต

ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21

เทคโนโลยีได้เปลี่ยนโฉมหน้าของการศึกษาอย่างเลี่ยงไม่ได้ และเห็นผลกระทบของสิ่งเหล่านี้ไปบ้างแล้ว ลองจินตนาการถึงชั้นเรียนที่จะเป็นในอีก 20 ปีข้างหน้า 91% ของครูมีเครื่องคอมพิวเตอร์ในชั้นเรียน แต่มีเพียง 1 ใน 5 ของครูเหล่านี้ที่รู้สึกว่าชั้นเรียนของพวกเขามีระดับของเทคโนโลยีที่เหมาะสมแล้ว บ่งบอกถึงเทคโนโลยีมีอัตราการเปลี่ยนแปลงที่เร็วมากๆ

ทั้งครูและนักเรียน ส่วนใหญ่เชื่อว่าเครื่อง Tablet จะช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ในชั้นเรียน 81% ของผู้สอน เชื่อว่า แทปเล็ตจะช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ในชั้นเรียน 86% ของผู้เรียน เชื่อว่า การเรียนของพวกเขาจะมีประสิทธิภาพมากกว่าเมื่อใช้แทปเล็ต 59% ของผู้เรียนใช้เครื่องโมบายของตัวเองในการเสริมการเรียนรู้ 1 ใน 5 ของผู้เรียนใช้ app บนโมบายเพื่อจัดการด้านการเรียนการสอนของพวกเขา 29% ของครูมีการใช้ Social media ในการทำ Coursework ขณะที่คณาจารย์ในระดับอุดมศึกษาในปัจจุบัน มีการใช้มากถึง 80%

Smart Classroom

RSU Smart Classroom Objective เพื่อให้มีการใช้งานอุปกรณ์ Smart e-Board ร่วมกับ Tablet ให้เกิด ประโยชน์อย่างสูงสุด เพื่อเป็นช่องทางการเรียนรู้การใช้งานจากอุปกรณ์ที่มีอยู่ ทำให้เกิด นวัตกรรมการเรียนการสอนใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์กับผู้เรียน วัตถุประสงค์ของโครงการ

Prepare Hardware Software Peopleware Learning Plan Smart e-Board Tablet Network Software Classroom Management Apps Attendance Peopleware Teacher & Staff Learning Plan วัตถุประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้สอน และบุคลกรที่เกี่ยวข้อง การวางแผนปรับปรุงแผนการสอน รูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม การประเมิน เพื่อปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยี และระบบให้เหมาะสม ปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอน

Component of Smart Classroom

Interactive e-Board

สถานที่ติดตั้ง Samsung Smart Board อาคาร คณะ / หน่วยงาน จำนวน 1 สำนักงานหน่วยงานต่าง ๆ 2 คณะเศรษฐศาสตร์, คณะบริหารธุรกิจ, วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 3 คณะศิลปศาสตร์, คณะนิติศาสตร์ 4 คณะเภสัชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์ 5 คณะเทคโนโลยีชีวภาพ, วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์, RSU Cyber U 10 วิทยาลัยดนตรี 11 คณะอุตสาหกรรมท่องเที่ยว, สถาบันภาษา, คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ 15 คณะนิเทศศาสตร์

Tablet for Student

Network

Software Console Classroom Management

ฝึกอบรมการใช้งาน จัดอบรมการใช้งาน Interactive e-Board และ Tablet ผู้เข้าอบรม อาจารย์ และ เจ้าหน้าที่ที่สนใจ หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลเช่น ศสพ. และ ฝ่ายเน็ทเวิร์ค เข้าร่วมอบรม ในระดับที่ละเอียดมากกว่าผู้ใช้งานทั่วไปเนื่องจากต้องรับผิดชอบดูแล

ฝึกอบรมการใช้งาน

แผนการประยุกต์ใช้ วิชาธรรมาธิปไตย 4,000 คน การเช็คชื่อเข้าเรียน ระบบ infrastructure Application รูปแบบการเรียนการสอนแบบ Paper less ใช้ Galaxy Note 10.1 Tablet eBook + YouTube Google App VDO clip presentation email@rsu

การสำรวจการใช้งาน

Conclusion ปัญหาและอุปสรรค แนวทางในอนาคต ข้อจำกัดของขนาดหน้าจอ ความซับซ้อนของระบบ และเทคโนโลยี ระบบโครงสร้างพื้นฐาน แนวทางในอนาคต รูปแบบการเรียนการสอน ต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระบบโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ สภาพห้องเรียน wifi และระบบซอฟแวร์ที่เกี่ยวข้อง